ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภิกษุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:


[[หมวดหมู่:พระภิกษุสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:พระภิกษุสงฆ์]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}


[[cs:Bhikkhu]]
[[cs:Bhikkhu]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:31, 11 สิงหาคม 2553

ภิกษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา เพราะมีความหมายตรงตัวว่าผู้เห็นภัยในสังสารวัฏ อันเป็นคำสอนที่มีลักษณะจำเพาะแตกต่างจากศาสนาอื่น

คำว่า ภิกษุ แปลตามรูปศัพท์ได้หลายนัย เช่น ผู้ขอโดยสงบ ผู้เห็นภัยในสังสารวัฏ ผู้ใช้สอยผ้าที่ถูกทำลายแล้ว เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ"ที่แปลว่าผู้ประเสริฐ เป็นคำที่เรียกกันมาแต่โบราณเพื่อเป็นการยกย่องนักบวชในพระพุทธศาสนา

ความเป็นมาของภิกษุ

การบวชเป็นภิกษุเถรวาท

ประเภทของการบวชเป็นภิกษุ

เอหิภิกขุอุปสัมปทา

ติสรณคมณูปสัมปทา

ญัตติจตุตถกรรมวาจา

การบวชเป็นภิกษุเถรวาทในประเทศไทย

ผู้ที่จะเป็นภิกษุได้จะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการพิธีอุปสมบทโดยถูกต้องตามพระธรรมวินัยก่อน เช่น ต้องมีอายุ ๒๐ ปี ไม่มีโรคร้ายแรง ต้องมีอุปัชฌาย์รับรอง ต้องทำพิธีในอุโบสถ

อ้างอิง