ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปัชฌาย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''อุปัชฌาย์''' (อ่านว่า อุปัดชา, อุบปัดชา) [[ความหมายโดยพยัญชนะ]] แปลว่า ผู้เข้าไปเพ่ง คือคอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนลัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน โดยหมายถึง พระ[[เถระ]]ผู้ทำหน้าที่เป็น[[ประธาน]]ในการ[[บวช]]กุลบุตรในพระ[[พุทธศาสนา]] เรียกทั่วไปว่า '''พระอุปัชฌาย์'''
'''อุปัชฌาย์''' (อ่านว่า อุปัดชา, อุบปัดชา) [[ความหมายโดยพยัญชนะ]] แปลว่า ผู้เข้าไปเพ่ง คือคอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนลัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน โดยหมายถึง พระ[[เถระ]]ผู้ทำหน้าที่เป็น[[ประธาน]]ในการ[[บวช]]กุลบุตรในพระ[[พุทธศาสนา]] เรียกทั่วไปว่า '''พระอุปัชฌาย์'''


พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก ๒ อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธี[[บรรพชา]][[อุปสมบท]]และเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร
พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก ๒ อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธี[[บรรพชา]][[อุปสมบท]]และเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร ตามกฎมหาเถรสมาคมนั้นได้กำหนดให้เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูป เว้นแต่ มีกรณีพิเศษ


== การแต่งตั้ง ==
อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตาม[[กฎหมาย]]ว่าด้วยการคณะ[[สงฆ์]] เป็นเองไม่ได้
อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตาม[[กฎหมาย]]ว่าด้วยการคณะ[[สงฆ์]] เป็นเองไม่ได้
กล่าวคือ ต้องเป็นพะอุปัชฌาย์ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๗ ( พ.ศ. ๒๕๓๖ ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์
กล่าวคือ ต้องเป็นพะอุปัชฌาย์ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๗ ( พ.ศ. ๒๕๓๖ ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์

== ประเภท ==
ปัจจุบันพระอุปัชฌาย์มี 3 ประเภท อันได้แก่
# พระอุปัชฌาย์สามัญ ซึ่งหมายถึง พระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะใหญ่
# พระอุปัชฌาย์วิสามัญ ซึ่งหมายถึง พระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช
# พระอุปัชฌาย์ผู้ได้รับตราตั้งพระอุปัชฌาย์อยู่ก่อนใช้กฎมหาเถรสมาคม

== คุณสมบัติ ==
(๑) มีตำแหน่งในทางการปกครองชั้นเจ้าอาวาสขึ้นไป เว้นแต่พระอารามหลวง
(๒) มีพรรษาพ้น ๑๐
(๓) ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพไร้ความสามารถ หรือมีจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ หรืออาพาธเป็นโรคติดต่อ เช่น โรคเรื้อน หรือวัณโรคในระยะอันตราย
(๔) มีประวัติความประพฤติดี
(๕) เป็นที่นับถือของประชาชน ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์
(๖) เป็นเปรียญหรือนักธรรมเอก เว้นแต่ในบางท้องถิ่นซึ่งเจ้าคณะพิจารณาเห็นสมควรผ่อนผัน
(๗) มีความสามารถฝึกสอนผู้อยู่ในปกครองให้เป็นพระภิกษุสามเณรที่ดี ตามพระธรรมวินัย และสามารถบำเพ็ญกรณียกิจอันอยู่ในหน้าที่ของพระอุปัชฌาย์ได้
(๘) มีความรู้ความสามารถ ทำอุปสมบทกรรมให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย และระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:30, 24 ตุลาคม 2551

อุปัชฌาย์ (อ่านว่า อุปัดชา, อุบปัดชา) ความหมายโดยพยัญชนะ แปลว่า ผู้เข้าไปเพ่ง คือคอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนลัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน โดยหมายถึง พระเถระผู้ทำหน้าที่เป็นประธานในการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา เรียกทั่วไปว่า พระอุปัชฌาย์

พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก ๒ อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร ตามกฎมหาเถรสมาคมนั้นได้กำหนดให้เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูป เว้นแต่ มีกรณีพิเศษ

การแต่งตั้ง

อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการคณะสงฆ์ เป็นเองไม่ได้ กล่าวคือ ต้องเป็นพะอุปัชฌาย์ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๗ ( พ.ศ. ๒๕๓๖ ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์

ประเภท

ปัจจุบันพระอุปัชฌาย์มี 3 ประเภท อันได้แก่

  1. พระอุปัชฌาย์สามัญ ซึ่งหมายถึง พระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะใหญ่
  2. พระอุปัชฌาย์วิสามัญ ซึ่งหมายถึง พระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช
  3. พระอุปัชฌาย์ผู้ได้รับตราตั้งพระอุปัชฌาย์อยู่ก่อนใช้กฎมหาเถรสมาคม

คุณสมบัติ

(๑) มีตำแหน่งในทางการปกครองชั้นเจ้าอาวาสขึ้นไป เว้นแต่พระอารามหลวง (๒) มีพรรษาพ้น ๑๐ (๓) ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพไร้ความสามารถ หรือมีจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ หรืออาพาธเป็นโรคติดต่อ เช่น โรคเรื้อน หรือวัณโรคในระยะอันตราย (๔) มีประวัติความประพฤติดี (๕) เป็นที่นับถือของประชาชน ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ (๖) เป็นเปรียญหรือนักธรรมเอก เว้นแต่ในบางท้องถิ่นซึ่งเจ้าคณะพิจารณาเห็นสมควรผ่อนผัน (๗) มีความสามารถฝึกสอนผู้อยู่ในปกครองให้เป็นพระภิกษุสามเณรที่ดี ตามพระธรรมวินัย และสามารถบำเพ็ญกรณียกิจอันอยู่ในหน้าที่ของพระอุปัชฌาย์ได้ (๘) มีความรู้ความสามารถ ทำอุปสมบทกรรมให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย และระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์

อ้างอิง

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548