ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาหลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Tris T7 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''กาหลง''' เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็น[[ดอกไม้ประจำจังหวัด]][[จังหวัดสตูล|สตูล]] ปลูกขึ้นง่ายในดินเหนียวทั่วไป ที่มีความชื้นและอุดมสมบัติรัตนะนิยมปลูกเป็นปลูกเป็นไม้ประดับ ทางสมุนไพรมีฤทธิ์เป็นยาท้อง<ref>ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/10309.pdf สารทุติยภูมิและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของพืชสกุลชงโค ] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า 116 - 130</ref>
{{Taxobox
| name = กาหลง
| status =
| status_system =
| status_ref =
| image = kalong.jpg
| image_width = 200px
| image_caption =
| regnum = [[Plant]]ae
| divisio = [[Flowering plant|Magnoliophyta]]
| classis = [[Magnoliopsida]]
| ordo = [[Fabales]]
| familia = [[Fabaceae]]
| subfamilia = [[Caesalpinioideae]]
| tribus = [[Cercideae]]
| genus = ''[[Bauhinia]]''
| species = ''''' B. acuminata'''''
| binomial = ''Bauhinia acuminata''
| binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
}}
'''กาหลง''' เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็น[[ดอกไม้ประจำจังหวัด]][[จังหวัดสตูล|สตูล]] ปลูกขึ้นง่ายในดินร่วนทั่วไป ที่มีความชื้นและอุดมสมบูรณ์ นิยมปลูกเป็นปลูกเป็นไม้ประดับ ทางสมุนไพรมีฤทธิ์เป็นยาแก้ไอ<ref>ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/10309.pdf สารทุติยภูมิและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของพืชสกุลชงโค ] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า 116 - 130</ref>


กาหลงมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กาแจ๊ะกูโด ([[มลายู]]-[[จังหวัดนราธิวาส|นราธิวาส]]), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง), เสี้ยวน้อย ([[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]), เสี้ยวดอกขาว<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>
กาหลงมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กาแจ๊ะกูโด ([[มลายู]]-[[จังหวัดนราธิวาส|นราธิวาส]]), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง), เสี้ยวน้อย ([[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]), เสี้ยวดอกขาว<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>


== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
กาหลงเป็นไม้พุ่ม สูง 1-3 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่หรือเกือบกลม ปลายเว้าลงมาสู่เส้นกลางใบลึกเกือบครึ่งแผ่นใบ ปลายแฉกทั้งสองข้างแหลม ปลายเส้นกลางใบมีติ่งเล็กแหลม ผลัดใบในฤดูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม และจะแตกใบใหม่ราวเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ดอกออกหลังจากใบใหม่แตกออกมาแล้ว ดอกสีขาว มีลักษณะเป็นช่อดอกสั้นๆ ออกตรงข้ามกับใบที่อยู่ตอนปลายกิ่ง มี 3-10 ดอก ฝักแบน คล้ายรูปขอบขนาน ปลายและโคนฝักสอบแหลม ปลายฝักมีติ่งแหลม ขอบฝักเป็นสันหนา มี 5-10 เมล็ด เมล็ดเล็กคล้ายรูปขอบขนาน
กาหลงเป็นไม้พุ่ม สูง 100-500 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่หรือเกือบกลม ปลายเว้าลงมาสู่เส้นกลางใบลึกเกือบครึ่งแผ่นใบ ปลายแฉกทั้งสองข้างแหลม ปลายเส้นกลางใบมีติ่งเล็กแหลม ผลัดใบในฤดูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนอันวา และจะแตกใบใหม่ราวเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ดอกออกหลังจากใบใหม่แตกออกมาแล้ว ดอกสีขาว มีลักษณะเป็นช่อดอกสั้นๆยาวๆแข็งๆ ออกตรงข้ามกับใบที่อยู่ตอนปลายกิ่ง มี 3-10 ดอก ฝักแบน คล้ายรูปขอบขนาน ปลายและโคนฝักสอบแหลม ปลายฝักมีติ่งแหลม ขอบฝักเป็นสันหนา มี 5-10 เมล็ด เมล็ดเล็กคล้ายรูปขอบขนาน


== การกระจายพันธุ์ ==
== การกระจายพันธุ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:20, 11 ธันวาคม 2561

กาหลง เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสตูล ปลูกขึ้นง่ายในดินเหนียวทั่วไป ที่มีความชื้นและอุดมสมบัติรัตนะนิยมปลูกเป็นปลูกเป็นไม้ประดับ ทางสมุนไพรมีฤทธิ์เป็นยาท้อง[1]

กาหลงมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กาแจ๊ะกูโด (มลายู-นราธิวาส), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง), เสี้ยวน้อย (เชียงใหม่), เสี้ยวดอกขาว[2]

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

กาหลงเป็นไม้พุ่ม สูง 100-500 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่หรือเกือบกลม ปลายเว้าลงมาสู่เส้นกลางใบลึกเกือบครึ่งแผ่นใบ ปลายแฉกทั้งสองข้างแหลม ปลายเส้นกลางใบมีติ่งเล็กแหลม ผลัดใบในฤดูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนอันวา และจะแตกใบใหม่ราวเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ดอกออกหลังจากใบใหม่แตกออกมาแล้ว ดอกสีขาว มีลักษณะเป็นช่อดอกสั้นๆยาวๆแข็งๆ ออกตรงข้ามกับใบที่อยู่ตอนปลายกิ่ง มี 3-10 ดอก ฝักแบน คล้ายรูปขอบขนาน ปลายและโคนฝักสอบแหลม ปลายฝักมีติ่งแหลม ขอบฝักเป็นสันหนา มี 5-10 เมล็ด เมล็ดเล็กคล้ายรูปขอบขนาน

การกระจายพันธุ์

เราไม่สามารถบอกได้ว่ากาหลงมีถิ่นกำเนิดมาจากไหนเพราะมีการปลูกเลี้ยงกันอย่างกว้างขวาง มันอาจมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศมาเลเซีย, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์[3] กาหลงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับกันอย่างแพร่หลายทั่วเขตร้อน อาจทำให้มีบางส่วนหลุดรอดจากพื้นที่ปลูกเลี้ยงในบางพื้นที่จนกลายเป็นต้นไม้ตามธรรมชาติในคาบสมุทรเคปยอร์ก (Cape York Peninsula) ออสเตรเลีย[4]

กาหลงในวรรณกรรม

เต็งแต้วแก้วกาหลง
บานบุษบงส่งกลิ่นอาย
หอมอยู่ไม่รู้หาย
คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตราตรู
(บทเห่เรือ - เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์)

อ้างอิง

  1. ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์. สารทุติยภูมิและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของพืชสกุลชงโค วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า 116 - 130
  2. เต็ม สมิตินันทน์ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549
  3. Germplasm Resources Information Network: Bauhinia acuminata
  4. Pacific Island Ecosystems at Risk: Bauhinia acuminata