ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน

ประตูกั้นชานชาลาของ รถไฟฟ้าบีทีเอส
ประตูกั้นชานชาลา (อังกฤษ: Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดใน ค.ศ. 1961 ประตูกั้นชานชาลามีสองแบบหลักแบ่งตามความสูง ได้แก่ แบบเต็มความสูงขบวนรถ และแบบครึ่งความสูงขบวนรถ ประตูกั้นชานชาลานอกจากจะช่วยป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารตกลงรางรถไฟแล้ว ยังช่วยกักอากาศเย็นภายในสถานีเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน[1]
การใช้งาน[แก้]
ไทย[แก้]
- รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
- รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ติดตั้งที่ สถานีสยาม เป็นสถานีแรก และได้ทำการติดตั้งในอีก 35 สถานี คือ ศาลาแดง, ช่องนนทรี, สุรศักดิ์, คูคต, แยก คปอ., พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ, โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช, สะพานใหม่, สายหยุด, พหลโยธิน 59, วัดพระศรีมหาธาตุ, กรมทหารราบที่ 11, บางบัว, กรมป่าไม้, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, เสนานิคม, รัชโยธิน, พหลโยธิน 24, ห้าแยกลาดพร้าว, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, พญาไท, ชิดลม, อโศก, พร้อมพงษ์, ทองหล่อ, อ่อนนุช, สำโรง, ปู่เจ้า, ช้างเอราวัณ, โรงเรียนนายเรือ, ปากน้ำ, ศรีนครินทร์, แพรกษา, สายลวด, และเคหะฯ
- รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ : สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง และ สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
- รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม
- รถไฟฟ้าสายสีทอง
- รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (กำลังก่อสร้าง)
- รถไฟฟ้าสายสีชมพู (กำลังก่อสร้าง)
- สายสีเหลือง (กำลังก่อสร้าง)
บราซิล[แก้]
แคนาดา[แก้]
จีน[แก้]
เดนมาร์ก[แก้]
ฟินแลนด์[แก้]
ฝรั่งเศส[แก้]
อินเดีย[แก้]
อิตาลี[แก้]
- รถไฟฟ้าตูริน
- รถไฟฟ้าเวนิส
- รถไฟฟ้ามิลาน
- สาย 4
- สาย 5
- รถไฟฟ้าเบรชชา
- รถไฟฟ้าโรม
- สาย C
ญี่ปุ่น[แก้]
โตเกียวเมโทร ติดตั้งประตูกั้นชานชาลาในปี ค.ศ. 1991 พร้อมกับเปิดเส้นทางสายนัมโบะกุ
มาเลเซีย[แก้]
ติดตั้งในสถานีรถไฟใต้ดินในสายเกอลานาจายา ทุกสถานี
เกาหลีใต้[แก้]
ติดตั้งในรถไฟใต้ดินโซล สาย 2 ที่ สถานียงดู เป็นสถานีแรก ปัจจุบันกำลังติดตั้งให้เสร็จภายใน ค.ศ. 2018[8]
ไต้หวัน[แก้]
- รถไฟใต้ดินไทเป
- สายสีน้ำตาล (สายเหวินหู)
- สายสีแดง (สายตั้นซุ่ยชินยี่)
- สายสีเขียว (สายซงชานซินเตี้ยน)
- สายสีส้ม (สายจงเห้อชินลู่)
- สายน้ำเงิน (สายป่านนาน)
- สายสีเหลือง (สายวงกลม)
- รถไฟฟ้าจังหวัดเกาซุยง
- สายสีส้ม
- สายสีแดง
อุบัติเหตุ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ประตูกั้นชานชาลา (Platform Screen Door)
- ↑ [1] Archived 2008-05-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, São Paulo Metro Official website
- ↑ 3.0 3.1 TTC plans suicide barriers on Yonge line
- ↑ "WPSD Platform Screen Door System - Case Study". Platformscreendoors.com. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-26. สืบค้นเมื่อ 2009-08-01.
- ↑ "Vuosaari platform doors introduced on 15 February". HKL. 2012-02-17. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2013-05-13. สืบค้นเมื่อ 2012-03-20.
- ↑ "Media Kit - Airport Express". Reliance Airport Express Metro. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2011-08-29. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
- ↑ "Metro to get platform screen doors". Times of India. Jan 5, 2011. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2013-11-11. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
- ↑ 잇단 투신에도…국철 스크린도어 설치는 '서행' Archived 2013-01-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Hankooki.com (in Korean)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ประตูกั้นชานชาลา |
- Manusa - website on PSDs
- Westinghouse website on PSDs - Includes video of doors in action, pictures, diagrams, and other info.
- Platform screen doors Metro Bits
- Oclap website on PSDs Archived 2013-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Presentation of the new product Platform Dynamic Doors Archived 2013-11-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Platform Screen Doors, Gilgen Door Systems AG[ลิงก์เสีย]