ปฏิบัติการมาส์
ปฏิบัติการมาส์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหภาพโซเวียต | เยอรมนี | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เกออร์กี จูคอฟ อีวาน โคเนฟ Maksim Purkayev |
วัลเทอร์ โมเดิล กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ | ||||||
กำลัง | |||||||
702,923 personnel, 1,718 tanks[1] |
3 combined corps (with 13 infantry divisions and 2 paratrooper divisions) 2 panzer corps (5 panzer divisions, 3 motorized divisions) 1,615 tanks[1] Total forces: ~ 350,000 troops. | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
Isayev: 70,373 irrecoverable 145,301 sanitary[2] Glantz: 100,000 killed 235,000 wounded 1,600 tanks[3] | Grossmann: 40,000 casualties[4] |
ปฏิบัติการมาส์ อีกชื่อคือ ปฏิบัติการการรุกรเจฟ-Sychevka ครั้งที่สอง (รัสเซีย: Вторая Ржевско-Сычёвская наступательная операция) เป็นชื่อรหัสปฏิบัติการรุกที่กองทัพโซเวียตกระทำต่อกองทัพเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 25 พฤศจิกายน ถึง 20 ธันวาคม ค.ศ. 1942 รอบ ๆ จุดยื่นเด่น รเจฟ ในอาณาบริเวณของมอสโก
การรุกครั้งนี้เป็นปฏิบัติการร่วมกันของแนวรบด้านตะวันตกของโซเวียตกับแนวรบคาลินินตามการประสานงานของเกออร์กี จูคอฟ เป็นหนึ่งในชุดการสู้รบอันนองเลือดอย่างยิ่ง ที่เรียกรวมกันในประวัติศาสตร์โซเวียตและรัสเซียว่า ยุทธการที่รเจฟ ยุทธการดังกล่าวเกิดใกล้กับ Rzhev, Sychevka, และVyazma ในระหว่างเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ถึงมีนาคม ค.ศ. 1943 จนเป็นที่เรียกขานว่า "เครื่องบดเนื้อรเจฟ" ("Ржевская мясорубка") เพราะสร้างความเสียหายขนานใหญ่ โดยเฉพาะแก่ฝ่ายโซเวียต เป็นเหตุให้ปรากฏอยู่ ณ เชิงอรรถในหน้าประวัติศาสตร์การทหารโซเวียตอยู่หลายปี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Исаев, Алексей Валерьевич. Когда внезапности уже не было. История ВОВ, которую мы не знали. — М.: Яуза, Эксмо, 2006. (Alexey Valeryevich Isayev. When the sudden element was lost – History of World War II, the facts that we do not know. Yauza & Penguin Books. Moskva. 2006. Part II: 1942 Autumn-Winter Offensive. Sector 2: Operation Mars)
- ↑ Гриф секретности снят: Потери Вооруженных Сил СССР в войнах, боевых действиях и военных конфликтах: Стат. исслед./ Г. Ф. Кривошеев, В. М. Андроников, П. Д. Буриков. — М.: Воениздат, 1993.
- ↑ Glantz 1999, p. 308.
- ↑ Гроссманн Хорст. Ржев — краеугольный камень Восточного фронта. — Ржев: «Ржевская правда», 1996. German name: Grossmann H. Rzhew: Eckpfeiler der Ostfront. — Friedberg : Podzun-Pallas-Verlag, 1980.