ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน316,385
ผู้ใช้สิทธิ52.42%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ จำลอง ศรีเมือง พิชัย รัตตกุล
พรรค ชาติไทย พลังธรรม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 Steady0

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529) กิจประชาคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย และอำเภอเลาขวัญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (3)* 39,126
พลังธรรม พินิจ จันทร์สมบูรณ์ (11) 33,627
ประชาธิปัตย์ คงศักดิ์ กลีบบัว (15)* 31,488
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เสวก จามรจันทร์ (1) 5,958
พลังธรรม ชัยยุทธ์ จันทร์สมบูรณ์ (12) 5,873
ประชาธิปัตย์ ธำรง ประสพโภคากร (16) 5,201
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยตรี ศุภสวัสดิ์ สายสวัสดิ์ (2) 3,528
ประชากรไทย นิพันธ์ สีสันต์ (17) 2,215
สหประชาธิปไตย เกียรติศักดิ์ หล่ายแปด (14) 1,740
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พันทิพย์ จันทร์เจริญกิจ (5) 1,598
ชาติไทย สหกฤษณ์ วงศ์ชินวิทย์ (4) 1,515
มวลชน จันทร์ รุณช้าง (10) 1,246
สหประชาธิปไตย เดชา ยอดมงคล (13) 962
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อัญชลี จีนสมบูรณ์พานิช (6) 565
ประชากรไทย สฤษดิ์ ไชยทองศรี (18) 538
กิจสังคม หม่อมหลวง ประสาทพร ปราโมช (7) 508
กิจสังคม ถกล แผ่ความดี (8) 397
มวลชน สมศักดิ์ มีคง (9) 304
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย เรวัต สิรินุกุล (6)* 44,882
ประชาธิปัตย์ ชวิน เป้าอารีย์ (7)✔ 32,098
ชาติไทย สมทรง จันทาภากุล (5)* 29,979
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประชุม จันทร์มา (18) 18,419
ประชาธิปัตย์ อำนวย แช่มช้อย (8) 17,212
พลังธรรม เบญจา แก้วละเอียด (11) 3,687
พลังธรรม วินัย แก้วละเอียด (12) 2,622
ประชากรไทย ประสาน เรืองแสง (1) 1,055
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กาญจนา สอนไข่ (4) 1,006
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญช่วย ขำอิ่ม (17) 563
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จ่าสิบเอก ดฤษดิ์ดุลย์ จันทวงศ์ (15) 515
ประชากรไทย ศรัทธา ศรีเล็กดี (2) 506
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประพนธ์ พิมลศรี (16) 422
มวลชน รังสรรค์ ทิพย์โยธิน (9) 292
กิจประชาคม วรกัญญา นานา (14) 278
สหประชาธิปไตย จิรนันท์ ยอดมงคล (20) 229
มวลชน อิสระ คงสมบูรณ์ (10) 226
สหประชาธิปไตย บรรจบ ณ พัทลุง (19) 213
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชลอ แสนสุข (3) 208
กิจประชาคม สุมาลี รัตนวิเศษ (13) 156
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจประชาคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532