ข้ามไปเนื้อหา

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อินเตอร์เนชั่นแนลแชมเปียนส์คัพ 2015
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพออสเตรเลีย
จีน
แคนาดา
อังกฤษ
อิตาลี
เม็กซิโก
สหรัฐอเมริกา
วันที่11 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม ค.ศ. 2015
ทีม15 (จาก 2 สมาพันธ์)
สถานที่18 (ใน 18 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศออสเตรเลีย:
สเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 2)
จีน:
สเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 3)
สหรัฐอเมริกา:
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน23
จำนวนประตู63 (2.74 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสวีเดน ซลาตัน อีบราฮีมอวิช
ฝรั่งเศส ฌอง-เคแว็ง ออกุสแต็ง
อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ
(3 ประตู)
2014
2016

อินเตอร์เนชั่นแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015 (อังกฤษ: 2015 International Champions Cup) (หรือ ไอซีซี) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตร ฤดูกาลที่ 3

ทีม[แก้]

ออสเตรเลีย[แก้]

ประเทศ ทีม ที่ตั้ง สมาพันธ์ ลีก
 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี แมนเชสเตอร์ ยูฟ่า พรีเมียร์ลีก
 อิตาลี โรมา โรม ยูฟ่า เซเรียอา
 สเปน เรอัลมาดริด มาดริด ยูฟ่า ลาลิกา

จีน[แก้]

ประเทศ ทีม ที่ตั้ง สมาพันธ์ ลีก
 อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเล มิลาน ยูฟ่า เซเรียอา
 อิตาลี มิลาน มิลาน ยูฟ่า เซเรียอา
 สเปน เรอัลมาดริด มาดริด ยูฟ่า ลาลิกา

อเมริกาเหนือ และ ยุโรป[แก้]

ประเทศ ทีม ที่ตั้ง สมาพันธ์ ลีก
 อังกฤษ เชลซี ลอนดอน ยูฟ่า พรีเมียร์ลีก
 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แมนเชสเตอร์ ยูฟ่า พรีเมียร์ลีก
 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ปารีส ยูฟ่า ลีกเอิง
 อิตาลี ฟีออเรนตีนา ฟลอเรนซ์ ยูฟ่า เซเรียอา
 เม็กซิโก อเมริกา เม็กซิโกซิตี คอนคาแคฟ ลีกาเอ็มเอ็กซ์
 โปรตุเกส เบนฟิกา ลิสบอน ยูฟ่า ปรีไมราลีกา
 สเปน บาร์เซโลนา บาร์เซโลนา ยูฟ่า ลาลิกา
 สหรัฐ แอลเอแกแลกซี คาร์สัน คอนคาแคฟ เอ็มแอลเอส
 สหรัฐ นิวยอร์ก เรดบูลส์ แฮร์ริสัน คอนคาแคฟ เอ็มแอลเอส
 สหรัฐ ซานโฮเซ เอิร์ธเควกส์ แซนโฮเซ คอนคาแคฟ เอ็มแอลเอส

สถานที่[แก้]

ออสเตรเลีย[แก้]

เมลเบิร์น
สนามคริกเกตเมลเบิร์น
37°49′12″S 144°59′0″E / 37.82000°S 144.98333°E / -37.82000; 144.98333
ความจุ: 100,024

จีน[แก้]

กวางโจว เซินเจิ้น เซี่ยงไฮ้
สนามกีฬาเทียนเหอ ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยเซินเจิ้น สนามกีฬาเซี่ยงไฮ้
23°8′26.33″N 113°19′9.58″E / 23.1406472°N 113.3193278°E / 23.1406472; 113.3193278 22°41′49.70″N 114°12′43.90″E / 22.6971389°N 114.2121944°E / 22.6971389; 114.2121944 31°11′0.61″N 121°26′14.28″E / 31.1835028°N 121.4373000°E / 31.1835028; 121.4373000
ความจุ: 58,500 ความจุ: 60,334 ความจุ: 56,842

อเมริกาเหนือและยุโรป[แก้]

ซีแอตเทิล ชิคาโก โตรอนโต อีสต์ ฮาร์ตฟอร์ด
เซนจูรีลิงก์ ฟีลด์ โซลด์เยอร์ ฟีลด์ บีเอ็มโอ ฟีลด์ เรนต์สชเลอร์ ฟีลด์
47°35′42.72″N 122°19′53.76″W / 47.5952000°N 122.3316000°W / 47.5952000; -122.3316000 41°51′45″N 87°37′0″W / 41.86250°N 87.61667°W / 41.86250; -87.61667 43°37′58″N 79°25′7″W / 43.63278°N 79.41861°W / 43.63278; -79.41861 41°45′35″N 72°37′8″W / 41.75972°N 72.61889°W / 41.75972; -72.61889
ความจุ: 67,000 ความจุ: 61,500 ความจุ: 30,000 ความจุ: 40,642
ซานตา คลารา แฮร์ริสัน
ลีวายส์ สเตเดียม เรด บูลล์ อารีนา
37°24′10.8″N 121°58′12″W / 37.403000°N 121.97000°W / 37.403000; -121.97000 40°44′12″N 74°9′1″W / 40.73667°N 74.15028°W / 40.73667; -74.15028
ความจุ: 68,500 ความจุ: 25,000
แซนโฮเซ แลนโดเวอร์
อาวายา สเตเดียม เฟดเอ็กซ์ ฟีลด์
ความจุ: 18,000 ความจุ: 79,000
37°21′5″N 121°55′30″W / 37.35139°N 121.92500°W / 37.35139; -121.92500 38°54′28″N 76°51′52″W / 38.90778°N 76.86444°W / 38.90778; -76.86444
แพซาดีนา คาร์สัน เม็กซิโก ซิตี ชาร์ลอตต์
โรส โบว์ล สตับฮับ เซ็นเตอร์ เอสตาดีโอ อัซเตกา สนามกีฬาธนาคารของอเมริกา
34°9′41″N 118°10′3″W / 34.16139°N 118.16750°W / 34.16139; -118.16750 33°51′52″N 118°15′40″W / 33.86444°N 118.26111°W / 33.86444; -118.26111 19°18′10.48″N 99°9′1.59″W / 19.3029111°N 99.1504417°W / 19.3029111; -99.1504417 35°13′33″N 80°51′10″W / 35.22583°N 80.85278°W / 35.22583; -80.85278
ความจุ: 92,542 ความจุ: 27,000 ความจุ: 120,000 ความจุ: 74,455
ลอนดอน ฟลอเรนซ์
สแตมฟอร์ด บริดจ์ อาร์เตมีโอ ฟรังคี
51°28′54″N 0°11′28″W / 51.48167°N 0.19111°W / 51.48167; -0.19111 43°46′50.96″N 11°16′56.13″E / 43.7808222°N 11.2822583°E / 43.7808222; 11.2822583
ความจุ: 41,798 ความจุ: 47,282

การแข่งขัน[แก้]

ออสเตรเลีย


แมนเชสเตอร์ซิตี อังกฤษ1–4สเปน เรอัลมาดริด
ตูเร ประตู 45+4' (จุดโทษ) รายงาน แบนเซมา ประตู 21'
โรนัลโด ประตู 25'
เปปี ประตู 44'
เชริเยฟ ประตู 73'
ผู้ชม: 99,382 คน
ผู้ตัดสิน: ฮิโรยูกิ คิมูระ (ญี่ปุ่น)
จีน

อินแตร์นาซีโอนาเล อิตาลี0–3สเปน เรอัลมาดริด
รายงาน เคเซ ประตู 29'
วาราน ประตู 56'
ฮาเมส ประตู 89'
ผู้ชม: 39,836 คน
ผู้ตัดสิน: ฟู หมิง (จีน)

อเมริกาเหนือ และ ยุโรป

ผลการแข่งขันของทีมที่มาจากสหรัฐอเมริกาในเมเจอร์ลีกซอกเกอร์ ฤดูกาล 2015


ซานโฮเซ เอิร์ธเควกส์ สหรัฐ1–2เม็กซิโก อเมริกา
กูดสัน ประตู 23' รายงาน อันดราเด ประตู 76'
รีเบรา ประตู 83'
ผู้ชม: 18,000 คน
ผู้ตัดสิน: อาเลจานโดร มาริสคัล (สหรัฐอเมริกา)






นิวยอร์ก เรดบูลส์ สหรัฐ4–2อังกฤษ เชลซี
กัสเตยานอส ประตู 51'
อาดัมส์ ประตู 70'
เดวิส ประตู 73' ประตู 77'
รายงาน เรมี ประตู 26'
อาซาร์ ประตู 75'
ผู้ชม: 24,076 คน
ผู้ตัดสิน: โรเบอร์โต ซิบิกา (สหรัฐอเมริกา)




นิวยอร์ก เรดบูลส์ สหรัฐ2–1โปรตุเกส เบนฟิกา
ไรท์-ฟิลลิปส์ ประตู 34'
เกรลลา ประตู 56'
รายงาน ปิซซี ประตู 7'
ผู้ชม: 18,096 คน
ผู้ตัดสิน: อเล็กซ์ ชิโลวิคซ์ (สหรัฐอเมริกา)




ฟีออเรนตีนา อิตาลี2–1สเปน บาร์เซโลนา
เบร์นาร์เดสคี ประตู 4'12' รายงาน ซัวเรซ ประตู 17'
ผู้ตัดสิน: มัสซีมีเลียโน อีร์ราตี ({อิตาลี)

เชลซี อังกฤษ0–1อิตาลี ฟีออเรนตีนา
รายงาน กอนซาโล ประตู 57'

ตารางคะแนน[แก้]

ออสเตรเลีย[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ WP LP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Final result
1 สเปน เรอัลมาดริด 2 1 0 1 0 4 1 +3 4 อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ออสเตรเลีย ฤดูกาล 2015
2 อิตาลี โรมา 2 0 1 1 0 2 2 0 3
3 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 2 0 1 0 1 3 6 −3 2
แหล่งที่มา : [1]


จีน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ WP LP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Final result
1 สเปน เรอัลมาดริด 2 1 1 0 0 3 0 +3 5 อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ จีน ฤดูกาล 2015
2 อิตาลี มิลาน 2 1 0 1 0 1 0 +1 4
3 อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเล 2 0 0 0 2 0 4 −4 0
แหล่งที่มา : [2]


อเมริกาเหนือ และ ยุโรป[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ WP LP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Final result
1 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4 3 0 1 0 10 5 +5 10 อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ อเมริกาเหนือ ฤดูกาล 2015
2 สหรัฐ นิวยอร์ก เรดบูลส์ 4 3 0 1 0 9 4 +5 10
3 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 4 3 0 0 1 7 4 +3 9
4 อิตาลี ฟีออเรนตีนา 4 2 1 0 1 3 4 −1 8
5 สหรัฐ แอลเอแกแลกซี 4 2 0 1 1 9 6 +3 7
6 สเปน บาร์เซโลนา 4 1 0 1 2 5 6 −1 4
7 เม็กซิโก อเมริกา 4 1 0 1 2 3 4 −1 4
8 อังกฤษ เชลซี 4 0 2 0 2 5 8 −3 4
9 โปรตุเกส เบนฟิกา 4 0 1 1 2 3 5 −2 3
10 สหรัฐ ซานโฮเซ เอิร์ธเควกส์ 4 0 0 0 4 4 12 −8 0
แหล่งที่มา : [3]


อันดับดาวซัลโว[แก้]

อันดับ ชื่อ ทีม ประตู
1 สวีเดน ซลาตัน อีบราฮีมอวิช ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 3
ฝรั่งเศส ฌอง-เคแว็ง ออกุสแต็ง ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ สเปน บาร์เซโลนา
3 เบลเยียม เอแดน อาซาร์ อังกฤษ เชลซี 2
ฝรั่งเศส แบลซ มาตุยดี ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
สหรัฐ ฌอน เดวิส สหรัฐ นิวยอร์ก เรดบูลส์
อิตาลี เฟเดรีโก เบร์นาร์เดสคี อิตาลี ฟีออเรนตีนา

การถ่ายทอดสดในแต่ละประเทศ[แก้]

การตลาด ประเทศ สถานีเครือข่าย อ้างอิง[1]
 สหรัฐ
แคริบเบียน
24 ฟ็อกซ์
 แคนาดา 1 ทีเอสเอ็น - เบลล์
อเมริกากลาง 1 เตเลวีซา, สกาย เม็กซิโก
อเมริกาใต้ (ไม่รวมบราซิล) 9 ไดเรกต์ ทีวี
 บราซิล 1 เอสปูร์เต อินแตราตีวู
 บริเตนใหญ่ 1 บีสกายบี
 สเปน 1 เตเบ3, ปรีซา
 อิตาลี 1 มีเดียเซต ปรีเมียม
 ฝรั่งเศส 1 บีน
 เยอรมนี
 สวิตเซอร์แลนด์
 ออสเตรีย
3 สปอร์ต 1 (10 นัดเท่านั้น)
 เนเธอร์แลนด์ 1 เอเรดีวีซี
 ไอซ์แลนด์ 1 365 มีเดีย
สแกนดิเนเวีย
 ฟินแลนด์
4 เอสบีเอส ดิสคัฟเวอรี
 เบลเยียม 1 เบลกาคอม
 โครเอเชีย 1 อาเรนาสปอร์ต ทีวี
 โปรตุเกส 1 สปอร์ต ทีวี
บอลข่าน (ไม่รวมบัลแกเรีย) 7 อาเรนา
 แอลเบเนีย 1 ดิจิตัลบี
 โรมาเนีย 1 อาร์ดีเอส
 ฮังการี 1
 เช็กเกีย
 สโลวาเกีย
2 ดิจิ ทีวี
 บัลแกเรีย 1 บีทีวี
 กรีซ 1 โนวา สปอร์ตส์
 ไซปรัส 1 ไซตา
 ตุรกี 1 โดกัน กรุป
 มอลตา 1 โก
 อิสราเอล 1 ชาร์ลตัน
 รัสเซีย 1 วีจีทีอาร์เค
 เบลารุส 1 เบลารุส ทีวี
บอลติก 3 เซตานตา
เมนา
แอฟริกาเหนือ
20 บีน
ทะเลทรายซาฮารา แอฟริกา 49 สตาร์ไทม์ส
 เซอร์เบีย 1 อารีนา สปอร์ต
 สโลวีเนีย 1 สปอร์ต ทีวี
ยูเรเชีย 10 เซตานตา
 อินเดีย 1 สตาร์ อินเดีย
 จีน 1 เลอทีวี + ช่องในภูมิภาค
 ญี่ปุ่น 1 เจ สปอร์ตส์
 ไต้หวัน 1 สปอร์ตคาสต์
 ฮ่องกง 1 ไอ-เคเบิล
 มาเก๊า 1 มาเก๊า เคเบิล
 เวียดนาม 1 เอสซีทีวี
 สิงคโปร์ 1 สตาร์ฮับ
 มาเลเซีย 1 เทเลคอม มาเลเซีย
 อินโดนีเซีย 1 เอสซีทีวี
 ฟิลิปปินส์ 1 เปอร์ฟอร์ม
 ไทย 1 พีพีทีวี
 พม่า 1 สกาย เน็ต
 นิวซีแลนด์ 1 วีดีอาร์ (3 นัดที่ออสเตรเลียเท่านั้น)
 ออสเตรเลีย 1 ไนน์ เน็ตเวิร์ก
 ปากีสถาน 1 สตาร์สปอร์ตส์
ประเทศ/ดินแดนทั้งหมด 168

อ้างอิง[แก้]

  1. "International Champions Cup 2015 – Global media distribution" (PDF). Relevant Sports. 2015-07-13.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]