ลาลิกา
![]() | |
ก่อตั้ง | 1929 |
---|---|
ประเทศ | ![]() |
สมาพันธ์ | ยูฟ่า |
จำนวนทีม | 20 |
ระดับในพีระมิด | 1 |
ตกชั้นสู่ | เซกุนดาดิบิซิออน |
ถ้วยระดับประเทศ | โกปาเดลเรย์ ซูเปร์โกปาเดเอสปัญญา |
ถ้วยระดับลีก | โกปาเดลาลิกา |
ถ้วยระดับนานาชาติ | ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ยูฟ่ายูโรปาลีก ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | เรอัลมาดริด (34 สมัย) (2019–20) |
ชนะเลิศมากที่สุด | เรอัลมาดริด (34 สมัย) |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | กานัลปลุส, บีอินสปอตส์, ลาเซซตา ฟอร์ตา ![]() |
เว็บไซต์ | www |
![]() |
ปริเมราดิบิซิออน (สเปน: Primera División) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ลาลิกา (La Liga) หรือเรียกว่า ลาลิกาซันตันเดร์ (LaLiga Santander) ด้วยเหตุผลด้านผู้สนับสนุน เป็นระบบการแข่งขันลีกฟุตบอลอาชีพลีกสูงสุดในประเทศสเปน อยู่ภายใต้การบริหารของราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน ลาลิกาได้รับการยอมรับว่าเป็นลีกฟุตบอลที่เข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปยุโรป
ลาลิกาจะเริ่มแข่งขันในเดือนสิงหาคมไปถึงเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป ทีมชนะเลิศในแต่ละปีจะได้สิทธิ์ในการแข่งถ้วยซูเปร์โกปาเดเอสปัญญากับทีมที่ชนะเลิศฟุตบอลถ้วยโกปาเดลเรย์ ทีมที่อันดับดีที่สุด 4 ทีมจะได้รับสิทธิ์แข่งยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยสี่ทีมอันดับแรกจะผ่านเข้าไปรอในรอบแบ่งกลุ่ม (ทีมชนะเลิศได้อยู่โถ 1) ส่วนอันดับ 5 จะมีสิทธิ์เข้าไปเล่นในยูฟ่ายูโรปาลีก
มีสโมสรฟุตบอลเพียง 9 ทีมที่เคยคว้าแชมป์ลาลิกา โดยทีมชนะเลิศจำนวนครั้งมากที่สุดคือ เรอัลมาดริด 34 สมัย บาร์เซโลนา 26 สมัย และอัตเลติโกเดมาดริด 10 สมัย
สโมสรที่เข้าร่วม (ฤดูกาล 2020–21)[แก้]
สโมสร | เมือง | สนาม | ความจุ (คน) |
---|---|---|---|
อาลาเบส | บิโตเรีย | เมนดิซอร์โรตซา | 19,840[1] |
อัตเลติกเดบิลบาโอ | บิลบาโอ | ซานมาเมส | 53,000[2] |
อัตเลติโกเดมาดริด | มาดริด | เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน | 68,000[3] |
บาร์เซโลนา | บาร์เซโลนา | กัมนอว์ | 99,354[4] |
กาดิซ | กาดิซ | รามอน เด การ์รันซา | 20,724[5] |
เซลตาเดบิโก | บิโก | บาลาอิโดส | 29,000[6] |
เอย์บาร์ | เอย์บาร์ | อิปูรัว | 7,083[7] |
เอลเช | เอลเช | มานูเอล มาร์ติเนซ บาเลโร | 33,732[8] |
เฆตาเฟ | เฆตาเฟ | อัลฟอนโซ เปเรซ | 17,000[9] |
กรานาดา | กรานาดา | นูเอโบโลสการ์เมเนส | 19,336[10] |
อูเอสกา | อูเอสกา | เอลอัลโกรัซ | 7,638[11] |
เลบันเต | บาเลนเซีย | นครบาเลนเซีย | 26,354[12] |
โอซาซูนา | ปัมโปลนา | เอลซาดาร์ | 18,570[13] |
เบติส | เซบิยา | เบนิโต บิยามาริน | 60,721[14] |
เรอัลมาดริด | มาดริด | ซานเตียโก เบร์นาเบว | 81,044[15] |
เรอัลโซซิเอดัด | ซานเซบัสเตียน | อาโนเอตา | 32,000[16] |
เซบิยา | เซบิยา | รามอน ซันเชซ ปิซฆวน | 42,714[17] |
บาเลนเซีย | บาเลนเซีย | เม็สตัลยา | 49,500[18] |
บายาโดลิด | บายาโดลิด | โฆเซ ซอร์ริยา | 26,512[19] |
บิยาร์เรอัล | บิยาร์เรอัล | เอสตาดิโอเดลาเซรามิกา | 23,500[20] |
ทำเนียบผู้ชนะเลิศ[แก้]
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามปี[แก้]
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามสโมสร[แก้]
สโมสร | สมัย | ปีที่ชนะเลิศ |
---|---|---|
เรอัลมาดริด | 1931–32, 1932–33, 1953–54, 1954–55, 1956–57, 1957–58, 1960–61, 1961–62, 1962–63, 1963–64, 1964–65, 1966–67, 1967–68, 1968–69, 1971–72, 1974–75, 1975–76, 1977–78, 1978–79, 1979–80, 1985–86, 1986–87, 1987–88, 1988–89, 1989–90, 1994–95, 1996–97, 2000–01, 2002–03, 2006–07, 2007–08, 2011–12, 2016–17, 2019–20 | |
บาร์เซโลนา | 1929, 1944–45, 1947–48, 1948–49, 1951–52, 1952–53, 1958–59, 1959–60, 1973–74, 1984–85, 1990–91, 1991–92, 1992–93, 1993–94, 1997–98, 1998–99, 2004–05, 2005–06, 2008–09, 2009–10, 2010–11, 2012–13, 2014–15, 2015–16, 2017–18, 2018–19 | |
อัตเลติโกเดมาดริด | 1939–40, 1940–41, 1949–50, 1950–51, 1965–66, 1969–70, 1972–73, 1976–77, 1995–96, 2013–14 | |
อัตเลติกเดบิลบาโอ | 1929–30, 1930–31, 1933–34, 1935–36, 1942–43, 1955–56, 1982–83, 1983–84 | |
บาเลนเซีย | 1941–42, 1943–44, 1946–47, 1970–71, 2001–02, 2003–04 | |
เรอัลโซซิเอดัด | 1980–81, 1981–82 | |
เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา | 1999–2000 | |
เซบิยา | 1945–46 | |
เรอัลเบติส | 1934–35 |
สถิติผู้ชนะเลิศ[แก้]
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามแคว้น[แก้]
แคว้น | สมัย | ทีมชนะเลิศ |
---|---|---|
มาดริด | เรอัลมาดริด (34), อัตเลติโกเดมาดริด (10) | |
กาตาลุญญา | บาร์เซโลนา (26) | |
บาสก์ | อัตเลติกเดบิลบาโอ (8), เรอัลโซซิเอดัด (2) | |
บาเลนเซีย | บาเลนเซีย (6) | |
อันดาซูซิอา | เซบิยา (1), เรอัลเบติส (1) | |
กาลิเซีย | เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา (1) |
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามเมือง[แก้]
เมือง | สมัย | ทีมชนะเลิศ |
---|---|---|
มาดริด | เรอัลมาดริด (34), อัตเลติโกเดมาดริด (10) | |
บาร์เซโลนา | บาร์เซโลนา (26) | |
บิลบาโอ | อัตเลติกเดบิลบาโอ (8) | |
บาเลนเซีย | บาเลนเซีย (6) | |
เซบิยา | เซบิยา (1), เรอัลเบติส (1) | |
ซานเซบัสเตียน | เรอัลโซซิเอดัด (2) | |
อาโกรุญญา | เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา (1) |
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Mendizorroza" (ภาษาสเปน). Deportivo Alavés. สืบค้นเมื่อ 22 April 2018.
- ↑ "San Mames" (ภาษาบาสก์). Athletic Bilbao. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
- ↑ "Wanda Metropolitano" (ภาษาสเปน). Atlético Madrid. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
- ↑ "Camp Nou" (ภาษาคาตาลัน). FC Barcelona. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
- ↑ "Estadio Ramón de Carranza" (ภาษาสเปน). Cádiz CF. สืบค้นเมื่อ 19 October 2019.
- ↑ "Instalaciones" (ภาษาสเปน). Celta Vigo. สืบค้นเมื่อ 28 December 2017.
- ↑ "Capacity of Ipurua stands at 7,083". SD Eibar. 3 February 2017.
- ↑ "Estadio Martínez Valero" (ภาษาสเปน). Elche CF. สืบค้นเมื่อ 30 May 2016.
- ↑ "Datos Generales". Getafe CF. สืบค้นเมื่อ 16 May 2016.
- ↑ "Datos del Club" (ภาษาสเปน). Granada CF. 1 July 2019.
- ↑ "El Alcoraz" (ภาษาสเปน). SD Huesca. สืบค้นเมื่อ 1 July 2019.
- ↑ "Estadi Ciutat de Valencia". StadiumDB. 20 July 2018.
- ↑ "Instalaciones - Estadio El Sadar" (ภาษาสเปน). CA Osasuna. สืบค้นเมื่อ 1 July 2019.
- ↑ "Estadio Benito Villamarín" (ภาษาสเปน). Real Betis. สืบค้นเมื่อ 4 July 2018.
- ↑ "Santiago Bernabéu Stadium". Real Madrid C.F. สืบค้นเมื่อ 7 March 2016.
- ↑ "Instalaciones" (ภาษาสเปน). Real Sociedad. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
- ↑ "Sevilla F.C." (ภาษาสเปน). Sevilla FC. สืบค้นเมื่อ 10 April 2016.
- ↑ "Camp de Mestalla" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 30 June 2017.
- ↑ "Estadio José Zorrilla" (ภาษาสเปน). Real Valladolid. สืบค้นเมื่อ 30 May 2016.
- ↑ "Estadio de la Cerámica" (ภาษาสเปน). Villarreal CF. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.