ข้ามไปเนื้อหา

สภากรุงเทพมหานคร ชุดที่ 13

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สภากรุงเทพมหานคร ชุดที่ 13
ชุดที่ 12 ชุดที่ 14
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติสภากรุงเทพมหานคร
วาระ22 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565
เว็บไซต์bmc.go.th
สมาชิก
ประธานวิรัตน์ มีนชัยนันท์ (เพื่อไทย)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2567)
สุรจิตต์ พงษ์สิงห์วิทยา (เพื่อไทย)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2567 – ปัจจุบัน)
รองประธานคนที่ 1ชญาดา วิภัติภูมิประเทศ (เพื่อไทย)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2567)
วิพุธ ศรีวะอุไร (เพื่อไทย)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2567 – ปัจจุบัน)
รองประธานคนที่ 2อำนาจ ปานเผือก (ประชาชน)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2567)
ฉัตรชัย หมอดี (ประชาชน)
(6 มิถุนายน พ.ศ. 2567 – ปัจจุบัน)

สภากรุงเทพมหานคร ชุดที่ 13 (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน) เป็นสภากรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครในปี 2565 โดยมีสมาชิกจำนวน 50 คนจากเขตเลือกตั้งจำนวน 50 เขต[1]

มีคำสั่งเรียกประชุมครั้งแรกในวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 โดย สก. จากพรรคเพื่อไทย เป็นประธานสภากรุงเทพมหานคร และแบ่งตำแหน่งรองประธานสภาฯ ระหว่างพรรคเพื่อไทยกับพรรคก้าวไกล (ต่อมาคือพรรคประชาชน)[2]

องค์ประกอบของสภา

[แก้]

การแบ่งกลุ่มเขตเป็น 6 กลุ่มเป็นไปดังนี้[3]

พรรคการเมือง จำนวนที่นั่ง รวม
กรุงเทพกลาง กรุงเทพใต้ กรุงเทพเหนือ กรุงเทพตะวันออก กรุงธนเหนือ กรุงธนใต้
พรรคเพื่อไทย 5 4 3 8 2 3 25
พรรคประชาชน 1 4 3 0 2 1 11
พรรคประชาธิปัตย์ 2 0 0 1 4 2 9
พรรคไทยสร้างไทย 0 0 1 0 0 1 2
กลุ่มรักษ์กรุงเทพ 0 1 0 0 0 0 1
พรรคเส้นด้าย 1 0 0 0 0 0 1
อิสระ 0 1 0 0 0 0 1

รายชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร

[แก้]

สมาชิกสภากรุงเทพมหานครที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง มีรายชื่อดังต่อไปนี้

เขต รายนามสมาชิก พรรคการเมือง หมายเหตุ
คลองเตย สุชัย พงษ์เพียรชอบ กลุ่มรักษ์กรุงเทพ
คลองสาน สมชาย เต็มไพบูลย์กุล พรรคประชาธิปัตย์
คลองสามวา นฤนันมนต์ ห่วงทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
คันนายาว ชญาดา วิภัติภูมิประเทศ พรรคเพื่อไทย
จตุจักร อภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
จอมทอง สุทธิชัย วีรกุลสุนทร พรรคเพื่อไทย
ดอนเมือง กนกนุช กลิ่นสังข์ พรรคเพื่อไทย
ดินแดง อนงค์ เพชรทัต พรรคเพื่อไทย ย้ายมาจากพรรคพลังประชารัฐ
ดุสิต ศิริพงษ์ ลิมปิชัย พรรคเพื่อไทย
ตลิ่งชัน ลักขณา ภักดีนฤนาถ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ทวีวัฒนา ยิ่งยงค์ จิตเพียรธรรม พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ทุ่งครุ กิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ พรรคเพื่อไทย
ธนบุรี จิรเสกข์ วัฒนมงคล พรรคเพื่อไทย
บางกะปิ นภัสสร พละระวีพงศ์ พรรคเพื่อไทย
บางกอกน้อย นภาพล จีระกุล พรรคประชาธิปัตย์
บางกอกใหญ่ วิรัช คงคาเขตร พรรคประชาธิปัตย์
บางขุนเทียน สารัช ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
บางเขน นริสสร แสงแก้ว พรรคเพื่อไทย เดิมสังกัดกลุ่มรักษ์กรุงเทพ
บางคอแหลม ปวิน แพทยานนท์ พรรคเพื่อไทย
บางแค อำนาจ ปานเผือก พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
บางซื่อ ภัทราภรณ์ เก่งรุ่งเรืองชัย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
บางนา ฉัตรชัย หมอดี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
บางบอน ณรงค์ศักดิ์ ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
บางพลัด ภิญโญ ป้อมสถิตย์ พรรคประชาธิปัตย์
บางรัก วิพุธ ศรีวะอุไร พรรคเพื่อไทย
บึงกุ่ม เนติภูมิ มิ่งรุจิราลัย พรรคเพื่อไทย
ปทุมวัน เมธาวี ธารดำรงค์ พรรคเพื่อไทย เดิมสังกัดกลุ่มรักษ์กรุงเทพต่อมาย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อไทยเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2566[4]
ประเวศ ธนวัฒน์ เชิดชูกิจกุล พรรคประชาธิปัตย์
ป้อมปราบศัตรูพ่าย นิภาพรรณ จึงเลิศศิริ พรรคประชาธิปัตย์
พญาไท พีรพล กนกวลัย พรรคเส้นด้าย ลาออกจากพรรคก้าวไกลในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566[5]
และปรากฏตัวในฐานะเลขาธิการพรรคเส้นด้าย
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2566[6]
พระโขนง สราวุธ อนันต์ชล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
พระนคร ศศิธร ประสิทธิ์พรอุดม พรรคเพื่อไทย ลาออกจากพรรคก้าวไกลในเดือนเมษายน พ.ศ. 2566 และปรากฏตัวในฐานะสมาชิกพรรคเพื่อไทยเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2566[7]
ภาษีเจริญ กฤษฏ์ คงวุฒิปัญญา พรรคเพื่อไทย
มีนบุรี วิรัตน์ มีนชัยนันท์ พรรคเพื่อไทย
ยานนาวา พุทธิพัชร์ ธันยาธรรมนนท์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ราชเทวี เอกกวิน โชคประสพรวย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ราษฎร์บูรณะ ไสว โชติกะสุภา พรรคไทยสร้างไทย
ลาดกระบัง สุรจิตต์ พงษ์สิงห์วิทยา พรรคเพื่อไทย
ลาดพร้าว ณภัค เพ็งสุข พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
วังทองหลาง อนุรักษ์ เลิศวัฒนาไพบูลย์ พรรคเพื่อไทย
วัฒนา สัณห์สิทธิ์ เนาถาวร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
สวนหลวง ปิยะวรรณ จระกา พรรคเพื่อไทย
สะพานสูง มธุรส เบนท์ พรรคเพื่อไทย
สัมพันธวงศ์ พินิจ กาญจนชูศักดิ์ พรรคประชาธิปัตย์
สาทร อานุภาพ ธารทอง อิสระ ลาออกจากพรรคก้าวไกลเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2565[8]
สายไหม รัตติกาล แก้วเกิดมี พรรคไทยสร้างไทย
หนองแขม นวรัตน์ อยู่บำรุง พรรคเพื่อไทย
หนองจอก ณรงค์ รัสมี พรรคเพื่อไทย ย้ายจากพรรคพลังประชารัฐมาสังกัดพรรคเพื่อไทยเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2567[9]
กกต.มีมติให้ใบเหลือง[10]
หลักสี่ ตกานต์ สุนนทวุฒิ พรรคเพื่อไทย
ห้วยขวาง ประพฤทธ์ หาญกิจจะกุล พรรคเพื่อไทย

คณะกรรมการประจำสภากรุงเทพมหานคร

[แก้]
ชื่อคณะกรรมการ ประธานคณะกรรมการ พรรค
คณะกรรมการกิจการสภา จิรเสกข์ วัฒนมงคล เพื่อไทย
คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม ศิริพงษ์ ลิมปิชัย เพื่อไทย
คณะกรรมการการศึกษา ลักขณา ภักดีนฤนาถ ประชาชน
คณะกรรมการการโยธาและผังเมือง นภาพล จีระกุล ประชาธิปัตย์
คณะกรรมการการสาธารณสุข กนกนุช กลิ่นสังข์ เพื่อไทย
คณะกรรมการการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อม ยิ่งยงค์ จิตเพียรธรรม ประชาชน
คณะกรรมการการเศรษฐกิจ การเงิน การคลังและการงบประมาณ สุทธิชัย วีรกุลสุนทร เพื่อไทย
คณะกรรมการการปกครองและรักษาความสงบเรียบร้อย นวรัตน์ อยู่บำรุง เพื่อไทย
คณะกรรมการการพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สุชัย พงษ์เพียรชอบ กลุ่มรักษ์กรุงเทพ
คณะกรรมการการจราจรและการขนส่ง รัตติกาล  แก้วเกิดมี ไทยสร้างไทย
คณะกรรมการการระบายน้ำ สัณห์สิทธิ์ เนาถาวร ประชาชน
คณะกรรมการการวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและการกีฬา พินิจ กาญจนชูศักดิ์ ประชาธิปัตย์

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ผลการเลือกตั้ง ส.ก. | ปลุกกรุงเทพฯ เปลี่ยนเมืองใหญ่ เลือกตั้งผู้ว่าฯ 65 | ไทยพีบีเอส". Thai PBS.[ลิงก์เสีย]
  2. "เพื่อไทยยึดประธานสภากทม.-เคลียร์จบก้าวไกล ส่งส.ก.วิรัตน์ขึ้นนั่งเก้าอี้-'ป๊อก'หัวโต๊ะ-เลือกวันนี้". มติชนออนไลน์. 6 June 2022. สืบค้นเมื่อ 6 June 2022.
  3. "แบ่ง กทม. 6 โซนให้ ส.ก.ดูแล". www.thairath.co.th. 2014-11-05.
  4. โพสต์ไม่ระบุหัวข้อโพสต์
  5. จับตาเลือกตั้ง เส้นด้ายเปลี่ยนรูปโปรไฟล์ เป็น ‘พรรคเส้นด้าย’ เตรียมเซอร์ไพรส์วันอาทิตย์นี้
  6. จากกลุ่มเส้นด้าย สู่ ‘พรรคเส้นด้าย’ คริส โปตระนันทน์ นำลูกทีมประกาศอุดมการณ์กำจัดระบบเส้นสายให้หมดจากประเทศ
  7. โพสต์ไม่ระบุหัวข้อโพสต์ของเพจเฟสบุ๊ก “เพื่อไทย กรุงเทพ”
  8. หยู (2022-07-15). "ส.ก.ฉาว ไขก๊อกพ้นก้าวไกลแล้ว ขู่ฟ้องกราวรูดผู้ให้ข้อมูลเท็จ".
  9. โพสต์ไม่ระบุหัวข้อ
  10. "กกต.แจกใบเหลือง 'ณรงค์ รัสมี' ชงศาลฯจัดเลือกตั้ง ส.ก.หนองจอก ใหม่". bangkokbiznews. 2024-12-25.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]