รายชื่อผู้นำประเทศแบ่งตามอายุ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บทความนี้รวบรวมรายชื่อต่าง ๆ ของผู้นำประเทศ ได้แก่ ประมุขแห่งรัฐ และ/หรือหัวหน้ารัฐบาล จำแนกตามอายุ

ผู้นำประเทศที่ดำรงตำแหน่งขณะอายุมากที่สุด[แก้]

10 อันดับแรกที่ดำรงตำแหน่งอยู่[แก้]

ปอล บียา ผู้นำประเทศในปัจจุบันที่มีอายุมากที่สุด
อันดับ ชื่อ ตำแหน่ง เริ่มดำรงตำแหน่ง เกิด อายุ
1 ปอล บียา แคเมอรูน ประธานาธิบดีแคเมอรูน 1982[1] 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933(1933-02-13) 91 ปี 99 วัน
2 มาห์มูด อับบาส รัฐปาเลสไตน์ ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์,
ประธานาธิบดีรัฐปาเลสไตน์
2005 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1935(1935-11-15) 88 ปี 189 วัน
3 สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด ซาอุดีอาระเบีย พระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบีย[2] 2015 31 ธันวาคม ค.ศ. 1935(1935-12-31) 88 ปี 143 วัน
4 สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส นครรัฐวาติกัน พระสันตะปาปาแห่งสันตะสำนัก,
รัฏฐาธิปัตย์แห่งนครรัฐวาติกัน
2013 17 ธันวาคม ค.ศ. 1936(1936-12-17) 87 ปี 157 วัน
5 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 นอร์เวย์ พระมหากษัตริย์นอร์เวย์ 1991 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1937(1937-02-21) 87 ปี 91 วัน
6 แอลี ฆอเมเนอี อิหร่าน ผู้นำสูงสุดอิหร่าน 1989[3] 19 เมษายน ค.ศ. 1939(1939-04-19) 85 ปี 33 วัน
7 มิชอัล อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ คูเวต เจ้าผู้ครองคูเวต 2023 27 กันยายน ค.ศ. 1940(1940-09-27) 83 ปี 238 วัน
8 ไมเคิล ดี. ฮิกกินส์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ประธานาธิบดีไอร์แลนด์ 2011 18 เมษายน ค.ศ. 1941(1941-04-18) 83 ปี 34 วัน
9 แซร์โจ มัตตาเรลลา อิตาลี ประธานาธิบดีอิตาลี 2015 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1941(1941-07-23) 82 ปี 304 วัน
10 นังโกโล อึมบา นามิเบีย ประธานาธิบดีนามิเบีย 2024 15 สิงหาคม ค.ศ. 1941(1941-08-15) 82 ปี 281 วัน

10 อันดับแรกตลอดกาล[แก้]

จิโอวานนี เปาโล ลาสคาริส ผู้นำประเทศที่มีอายุมากที่สุดตลอดกาล

รายการนี้นับเฉพาะผู้มีวันเดือนปีเกิดแน่นอน

อันดับ ชื่อ ตำแหน่ง ปีสุดท้ายในตำแหน่ง
(เหตุผลที่พ้นจากตำแหน่ง)
อายุขณะพ้นจากตำแหน่ง
1 จิโอวานนี เปาโล ลาสคาริส รัฐอธิปไตยทหารออร์เดอร์ ออฟ มอลตา อัคราธิการแห่งเสนาธิปัตย์บริบาล 1657 (พิราลัย) 97 ปี 47 วัน
2 สุลต่านอับดุล โมมิน บรูไน สุลต่านบรูไน 1885 (สวรรคต) 97 ปี 8 วัน
3 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร
และราชอาณาจักรเครือจักรภพ[4]
2022 (สวรรคต) 96 ปี 140 วัน
4 ฮาสติงส์ แบนดา มาลาวี ประธานาธิบดีมาลาวี 1994 (แพ้เลือกตั้ง) 96 ปี 98 วัน
5 เปรม ติณสูลานนท์ ไทย ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไทย 2016 (สิ้นสุดวาระ) 96 ปี 97 วัน
6 พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ตองงา พระมหากษัตริย์ตองงา 1893 (สวรรคต) 95 ปี 76 วัน
7 มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด มาเลเซีย นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย 2020 (ลาออก) 94 ปี 235 วัน
8 นิโคโล ดา พอนต์ ดอเจแห่งเวนิส 1585 (พิราลัย) 94 ปี 196 วัน
9 มาลีเอโตอา ตานูมาฟีลีที่ 2 ซามัว ประมุขแห่งรัฐซามัว 2007 (สวรรคต) 94 ปี 127 วัน
10 รอเบิร์ต มูกาบี ซิมบับเว ประธานาธิบดีซิมบับเว 2017 (ลาออก) 93 ปี 273 วัน

ผู้นำประเทศที่ดำรงตำแหน่งขณะอายุน้อยที่สุด[แก้]

10 อันดับแรกที่ดำรงตำแหน่งอยู่[แก้]

กาบรีแยล อาตาล ผู้นำประเทศในปัจจุบันที่มีอายุน้อยที่สุด
อันดับ ชื่อ ตำแหน่ง เริ่มดำรงตำแหน่ง เกิด อายุ
1 กาบรีแยล อาตาล ฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส 2024 16 มีนาคม ค.ศ. 1989(1989-03-16) 35 ปี 67 วัน
2 อิบราฮิม ตราโอเร่ บูร์กินาฟาโซ ประธานขบวนการรักชาติเพื่อปกป้องและฟื้นฟู,
ประธานาธิบดีเฉพาะกาลบูร์กินาฟาโซ
2022 14 มีนาคม ค.ศ. 1988(1988-03-14) 36 ปี 69 วัน
3 ดานิเอล โนโบอา เอกวาดอร์ ประธานาธิบดีเอกวาดอร์ 2023 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987(1987-11-30) 36 ปี 174 วัน
4 มิลอยกอ สปายิช มอนเตเนโกร นายกรัฐมนตรีมอนเตเนโกร 2023 24 กันยายน ค.ศ. 1987(1987-09-24) 36 ปี 241 วัน
5 ยาก็อฟ มิลาตอวิช มอนเตเนโกร ประธานาธิบดีมอนเตเนโกร 2023 7 ธันวาคม ค.ศ. 1986(1986-12-07) 37 ปี 167 วัน
6 กาบริเอล โบริช ชิลี ประธานาธิบดีชิลี 2022 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986(1986-02-11) 38 ปี 101 วัน
7 เจ้าชายมุฮัมมัด บิน ซัลมาน มกุฎราชกุมาร ซาอุดีอาระเบีย นายกรัฐมนตรีซาอุดีอาระเบีย 2022 31 สิงหาคม ค.ศ. 1985(1985-08-31) 38 ปี 265 วัน
8 มะหะมัด เดบี ชาด ประธานาธิบดีเปลี่ยนผ่านชาด 2022 4 เมษายน ค.ศ. 1984(1984-04-04) 40 ปี 48 วัน
9 ซัสเซส มาสรา ชาด นายกรัฐมนตรีชาด 2024 30 สิงหาคม ค.ศ. 1983(1983-08-30) 40 ปี 266 วัน
10 คิม จ็อง-อึน เกาหลีเหนือ ผู้นำสูงสุดเกาหลีเหนือ 2011 8 มกราคม ค.ศ. 1983(1983-01-08) 41 ปี 135 วัน

10 อันดับแรกตั้งแต่ ค.ศ. 1900[แก้]

พระเจ้าฟุอาดที่ 2 ผู้นำประเทศที่มีอายุน้อยที่สุดตั้งแต่ ค.ศ. 1900
อันดับ ชื่อ ตำแหน่ง ปีเข้ารับตำแหน่ง อายุขณะเข้ารับตำแหน่ง
1 พระเจ้าฟุอาดที่ 2 อียิปต์ พระมหากษัตริย์อียิปต์ 1952 0 ปี 192 วัน
2 จักรพรรดิผู่อี๋ ราชวงศ์ชิง จักรพรรดิจีน 1908 2 ปี 299 วัน
3 สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระ เนปาล พระมหากษัตริย์เนปาล 1950 3 ปี 123 วัน
4 พระเจ้ามวัมบูตซาที่ 4 พระมหากษัตริย์บุรุนดี 1915 3 ปี 224 วัน
5 พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 ราชอาณาจักรอิรัก พระมหากษัตริย์อิรัก 1939 3 ปี 337 วัน
6 แต็นจิน กยาโช ทิเบต ทะไลลามะ 1940 4 ปี 231 วัน
7 พระเจ้ามีไฮที่ 1 โรมาเนีย พระมหากษัตริย์โรมาเนีย 1927 5 ปี 268 วัน
8 พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 บัลแกเรีย พระมหากษัตริย์บัลแกเรีย 1943 6 ปี 73 วัน
9 จักรพรรดิซวี เติน จักรพรรดิเวียดนาม 1907 6 ปี 351 วัน
10 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ไทย พระมหากษัตริย์ไทย 1935 9 ปี 163 วัน

ผู้นำประเทศที่อายุยืนที่สุด[แก้]

10 อันดับแรกที่ยังมีชีวิตอยู่[แก้]

โยซิป มาโนลิช ผู้นำประเทศที่มีอายุมากที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน
อันดับ ชื่อ ตำแหน่ง เกิด อายุ
1 โยซิป มาโนลิช โครเอเชีย นายกรัฐมนตรีโครเอเชีย (1990–1991) 22 มีนาคม ค.ศ. 1920(1920-03-22) 104 ปี 61 วัน
2 ซีซาร์ ยาเนส อูรีอาส เอลซัลวาดอร์ สมาชิกรัฐบาลทหารเอลซัลวาดอร์ (1960–1961) 24 เมษายน ค.ศ. 1920(1920-04-24) 104 ปี 28 วัน
3 กิลเลอร์โม โรดริเกซ เอกวาดอร์ รักษาการประธานาธิบดีเอกวาดอร์ (1972–1976) 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923(1923-11-04) 100 ปี 200 วัน
4 คำไต สีพันดอน ลาว นายกรัฐมนตรีลาว (1991–1998)
เลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว (1992–2006)
ประธานาธิบดีลาว (1998–2006)
8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1924(1924-02-08) 100 ปี 104 วัน
5 โทมิอิจิ มูรายามะ ญี่ปุ่น นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (1994–1996) 3 มีนาคม ค.ศ. 1924(1924-03-03) 100 ปี 80 วัน
6 จิมมี คาร์เตอร์ สหรัฐ ประธานาธิบดีสหรัฐ (1977–1981) 1 ตุลาคม ค.ศ. 1924(1924-10-01) 99 ปี 234 วัน
7 มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด มาเลเซีย นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย (1981–2003; 2018–2020) 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1925(1925-07-10) 98 ปี 317 วัน
8 โมฮัมหมัด ฮะซัน ซาร์ค ประธานคณะรัฐมนตรีอัฟกานิสถาน (1988–1989) 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1925(1925-07-17) 98 ปี 310 วัน
9 อับดูลาย เวด เซเนกัล ประธานาธิบดีเซเนกัล (2000–2012) 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1926(1926-05-29) 97 ปี 359 วัน
10 วาลดัส อาดัมกุส ลิทัวเนีย ประธานาธิบดีลิทัวเนีย (1998–2003; 2004–2009) 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1926(1926-11-03) 97 ปี 201 วัน

10 อันดับแรกตั้งแต่ ค.ศ. 1800[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Previously served as Prime Minister of Cameroon from 1975–1982.
  2. Since the reign of Faisal bin Abdulaziz Al Saud (1964–1975), the office of prime minister has been held by the king simultaneously.
  3. Previously served as President of Iran from 1981–1989.
  4. In 1952, Princess Elizabeth acceded as the monarch of seven Commonwealth realms. She currently reigns as Queen of 15 sovereign states including the United Kingdom. From 1957–1983, most of her British colonies attained independence, and some joined the other realms in different years; most states ceased to be a realm upon becoming republics.