ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี
ก่อตั้ง2002
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AFF)
จำนวนทีม12
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน ออสเตรเลีย (3 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ออสเตรเลีย
 ไทย
 เวียดนาม
(3 สมัย)
2024

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศประจำปีของสมาชิกใน สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (AFF) และชาติที่ถูกรับเชิญมาเป็นครั้งคราวก็มาจากส่วนที่เหลือของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์ที่เล่นก่อนหน้านี้ที่อยู่ภายใต้อายุไม่เกิน 17 ปี[1]การแข่งขันจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2002[2] และกลับมาแข่งขันต่อในปี 2005

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับที่สาม
ชนะเลิศ ผล อันดับที่สอง อันดับที่สาม ผล อันดับที่สี่
2002
รายละเอียด
 มาเลเซีย
 อินโดนีเซีย

พม่า
4 – 1
ลาว

อินโดนีเซีย
1 – 0
มาเลเซีย
2005
รายละเอียด
ไทย
ไทย

พม่า
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)

ไทย

ลาว
3 – 1
มาเลเซีย
2006
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

เวียดนาม
พบกันหมด
พม่า

บังกลาเทศ
พบกันหมด
ลาว
2007
รายละเอียด
กัมพูชา
กัมพูชา

ไทย
3 – 2
ลาว

เวียดนาม
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)

อินโดนีเซีย
2008
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

ออสเตรเลีย
1 – 1
(5-4 ลูกโทษ)

บาห์เรน

มาเลเซีย
3 – 0
สิงคโปร์
2009
รายละเอียด
ไทย
ไทย
ไม่มีการแข่งขัน ไม่มีการแข่งขัน
2010
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

เวียดนาม
1 – 0
จีน

ติมอร์-เลสเต
2 – 0
อินโดนีเซีย
2011
รายละเอียด
ลาว
ลาว

ไทย
1 – 0
ลาว

พม่า
2 – 1
สิงคโปร์
2012
รายละเอียด
ลาว
ลาว

ญี่ปุ่น
3 – 1
ออสเตรเลีย

ลาว
3 – 0
ไทย
2013
รายละเอียด
ประเทศพม่า
พม่า

มาเลเซีย
1 – 1
(3-2 ลูกโทษ)

อินโดนีเซีย

ออสเตรเลีย
0 – 0
(7-6 ลูกโทษ)

เวียดนาม
2014
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
ไม่มีการแข่งขัน ไม่มีการแข่งขัน
2015
รายละเอียด
กัมพูชา
กัมพูชา

ไทย
3 – 0
พม่า

ออสเตรเลีย
10 – 2
ลาว
2016
รายละเอียด
กัมพูชา
กัมพูชา

ออสเตรเลีย
3 – 3
(5-3 ลูกโทษ)

เวียดนาม

ไทย
3 – 0
กัมพูชา
2017
รายละเอียด
ไทย
ไทย

เวียดนาม
0 – 0
(4–2 ลูกโทษ)

ไทย

ออสเตรเลีย
3 – 2
มาเลเซีย
2018
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย
1 – 1
(4–3 ลูกโทษ)

ไทย

มาเลเซีย
1 – 0
พม่า
2019
รายละเอียด
ไทย
ไทย

มาเลเซีย
2 – 1
ไทย

อินโดนีเซีย
0 – 0
3–2 ลูกโทษ

เวียดนาม
2022
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย
1–0
เวียดนาม

ไทย
3–0
พม่า
2024
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

ออสเตรเลีย
1–1

(ดวลลูกโทษ 8–7)

ไทย

อินโดนีเซีย
5–0
เวียดนาม

ความสำเร็จในการแข่งขัน

[แก้]
ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่
 ไทย 3 (2007, 2011, 2015) 5 (2005, 2017, 2018, 2019, 2024) 2 (2016, 2022) 1 (2012)
 เวียดนาม 3 (2006, 2010, 2017) 2 (2016, 2022) 1 (2007) 3 (2013, 2019, 2024)
 ออสเตรเลีย 3 (2008, 2016, 2024) 1 (2012) 3 (2013, 2015, 2017)
 พม่า 2 (2002, 2005) 2 (2006, 2015) 1 (2011)
 อินโดนีเซีย 2 (2018, 2022) 1 (2013) 3 (2002, 2019, 2024) 2 (2007, 2010)
 มาเลเซีย 2 (2013, 2019) 2 (2008, 2018) 3 (2002, 2005, 2017)
 ญี่ปุ่น 1 (2012)
 ลาว 3 (2002,2007, 2011) 2 (2005, 2012) 2 (2006, 2015)
 จีน 1 (2010)
 บาห์เรน 1 (2008)
 บังกลาเทศ 1 (2006)
 ติมอร์-เลสเต 1 (2010)
 สิงคโปร์ 2 (2008, 2011)
 กัมพูชา 1 (2016)

ดูเพิ่ม

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]
  1. "AFC U-16 Championship 2008 Competition Information". the-afc.com. Asian Football Confederation. 18 September 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-16. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.
  2. "ASEAN U-17 Championship 2002". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]