ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี 2018
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินโดนีเซีย
เมืองเกรซิค และ ซิโดอาร์โจ
วันที่29 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561
ทีม11
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน15
จำนวนประตู72 (4.8 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอินโดนีเซีย Amiruddin Bagus Kahfi Al-Fikri
(6 ประตู)
2017
2019
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561

การแข่งขัน ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 13 ของ ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี (ครั้งที่สองของรุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี), ที่จัดขึ้นโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน สำหรับทีมชาติชายของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอายุไม่เกิน 15 ปี.

ทั้งหมด 11 ทีมที่จะลงเล่นในรายการนี้, กับผู้เล่นที่เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2002 จะได้มีสิทธิ์เข่าร่วม. แต่ละนัดจะมีระยะเวลาของการแข่งขันอยู่ที่ 80 นาที, ประกอบไปด้วยสองครึ่ง ครึ่งละ 40 นาที.

ทีมที่เข้าร่วม[แก้]

ไม่มีการลงเล่นในรอบคัดเลือก, และผู้เข้าร่วมทั้งหมดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย. ด้านล่างนี้คือ 11 ทีมที่มาจากสมาคมสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนจะเข้าสู่การแข่งขัน.

ทีม สมาคม/สหพันธ์ การลงสนาม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ไทย ไทย ครั้งที่ 9 ชนะเลิศ (2007, 2011, 2015)
 เวียดนาม เวียดนาม ครั้งที่ 11 ชนะเลิศ (2006, 2010), 2017)
 กัมพูชา กัมพูชา ครั้งที่ 9 อันดับที่สี่ (2016)
 บรูไน บรูไน ครั้งที่ 7 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2007, 2013, 2015, 2016), 2017)
 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย ครั้งที่ 9 รองชนะเลิศ (2013)
 ลาว ลาว ครั้งที่ 9 รองชนะเลิศ (2002, 2007, 2011)
 มาเลเซีย มาเลเซีย ครั้งที่ 10 ชนะเลิศ (2013)
 พม่า เมียนมาร์ ครั้งที่ 10 ชนะเลิศ (2002, 2005)
 ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ ครั้งที่ 7 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2011, 2013, 2015, 2016, 2017)
 สิงคโปร์ สิงคโปร์ ครั้งที่ 9 อันดับที่สี่ (2008, 2011)
 ติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต ครั้งที่ 6 อันดับที่สาม (2010)

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อินโดนีเซีย (H) 2 2 0 0 10 1 +9 6 รอบแพ้คัดออก
2  พม่า 2 1 0 1 4 4 0 3
3  เวียดนาม 2 2 0 0 5 0 +5 6
4  กัมพูชา 2 1 0 1 5 2 +3 3
5  ติมอร์-เลสเต 2 0 0 2 2 7 −5 0
6  ฟิลิปปินส์ 2 0 0 2 1 13 −12 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
(H) เจ้าภาพ.
กัมพูชา 0–1 เวียดนาม
รายงาน Trung ประตู 36' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 122 คน
ผู้ตัดสิน: Abdul Hakim Mohd Haidi (Brunei)
อินโดนีเซีย 8–0 ฟิลิปปินส์
Supriadi ประตู 2'
Teguh ประตู 18'
Fajar ประตู 32'
Zico ประตู 45'
Rendy ประตู 56'
David ประตู 63' (ลูกโทษ)
Bagus ประตู 67'73'
รายงาน
ผู้ชม: 8,931 คน
ผู้ตัดสิน: Souei Vongkham (Laos)
พม่า 3–2 ติมอร์-เลสเต
Khun Kyaw Zin Hein ประตู 47'
Aung Ko Oo ประตู 61'
Naing Htwe ประตู 79'
รายงาน Gusmão ประตู 43'
Amaral ประตู 73'
ผู้ชม: 137 คน
ผู้ตัดสิน: Fitri Maskon (Malaysia)

เวียดนาม 4–0 ติมอร์-เลสเต
Trung ประตู 16'75'
Chung ประตู 31'
Bảo ประตู 68'
รายงาน
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Wiwat Jumpaoon (Thailand)
กัมพูชา 5–1 ฟิลิปปินส์
Daradevid ประตู 16'
Samel ประตู 28'
Rina ประตู 52'72'
Bunnarong ประตู 80+1'
รายงาน Yu ประตู 11'
ผู้ชม: 221 คน
ผู้ตัดสิน: Xaypaseth Phongsanit (Laos)
พม่า 1–2 อินโดนีเซีย
Zaw Win Thein ประตู 72' (ลูกโทษ) รายงาน Bagus ประตู 8'26'
ผู้ชม: 8,745 คน
ผู้ตัดสิน: Amdillah Zainuddin (Brunei)

ติมอร์-เลสเต 2–1 กัมพูชา
Da Cruz ประตู 13'
F. Da Costa ประตู 46'
รายงาน Bunnarong ประตู 29'
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Souei Vongkham (Laos)
ฟิลิปปินส์ 0–7 พม่า
รายงาน Naung Naung Soe ประตู 2'29'
Aung Ko Oo ประตู 25'
Zaw Win Thein ประตู 34'
Pyae Phyo Aung ประตู 46'
Khun Kyaw Zin Hein ประตู 53'
Wai Yan Soe ประตู 77'
ผู้ชม: 279 คน
ผู้ตัดสิน: Abdul Hakim Mohd Haidi (Brunei)
เวียดนาม 2–4 อินโดนีเซีย
Trung ประตู 6'73' (ลูกโทษ)
N. Hoàng Red card 66'
รายงาน Supriyadi ประตู 29'
Bagus ประตู 45' (ลูกโทษ)61'
Andre ประตู 80+4'
Bagas Red card 66'
ผู้ชม: 9,588 คน
ผู้ตัดสิน: Xaypaseth Phongsanit (Laos)

พม่า v กัมพูชา

เวียดนาม v พม่า

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ไทย (Q) 3 3 0 0 12 2 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2  ลาว 2 2 0 0 5 3 +2 6
3  มาเลเซีย 2 1 0 1 7 3 +4 3
4  สิงคโปร์ 2 0 0 2 2 5 −3 0
5  บรูไน (E) 3 0 0 3 3 16 −13 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
(E) ตกรอบ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
บรูไน 2–3 ลาว
Idzzaham ประตู 1'
Hakeme ประตู 38'
รายงาน Anantaza ประตู 12'
Lekto ประตู 21'
Chony ประตู 48'
ผู้ชม: 59 คน
ผู้ตัดสิน: Dwi Purba Wicaksana (Indonesia)
ไทย 2–1 มาเลเซีย
Ali ประตู 13' (เข้าประตูตัวเอง)
Azlan ประตู 64' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Azlan ประตู 46'
ผู้ชม: 212 คน
ผู้ตัดสิน: Steve Suprencia (Philippines)

บรูไน 0–7 ไทย
รายงาน อาทิตย์ ประตู 10'
ธนกฤต ประตู 17'
ธนริน ประตู 21'
สิทธินันท์ ประตู 26'
ปัณณวัชร์ ประตู 57' (ลูกโทษ)
ภานุพงศ์ ประตู 63'
ศตวรรษ ประตู 77'
ผู้ชม: 30 คน
ผู้ตัดสิน: Ngô Duy Lân (Vietnam)
สิงคโปร์ 1–2 ลาว
Chua ประตู 78' รายงาน Chony ประตู 16'55'
ผู้ชม: 51 คน
ผู้ตัดสิน: Chy Samdy (Cambodia)

มาเลเซีย 6–1 บรูไน
Asman ประตู 2'50'
Fahmi ประตู 27'
Ikhwan ประตู 38'
Harith ประตู 46'
Danial ประตู 80+3'
Eddy ประตู 80' (ลูกโทษ)

ลาว v ไทย
0 0

ลาว v มาเลเซีย
0 1
ผู้ชม: Lanoy
สิงคโปร์ v บรูไน

รอบแพ้คัดออก[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, การดวลลูกโทษ เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น.[1]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
9 สิงหาคม – Sidoarjo
 
 
ชนะเลิศ กลุ่ม เอ
 
11 สิงหาคม – Sidoarjo
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม บี
 
ผู้ชนะ SF1
 
9 สิงหาคม – Sidoarjo
 
ผู้ชนะ SF2
 
ชนะเลิศ กลุ่ม บี
 
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ
 
นัดชิงอันดับ 3
 
 
11 สิงหาคม – Sidoarjo
 
 
ผู้แพ้ SF1
 
 
ผู้แพ้ SF2

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ กลุ่ม เอvรองชนะเลิศ กลุ่ม บี
ชนะเลิศ กลุ่ม บีvรองชนะเลฺศ กลุ่ม เอ

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

ผู้แพ้ SF1vผู้แพ้ SF2

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ผู้ชนะ SF1vผู้ชนะ SF2

อันดับดาวซัลโว[แก้]

6 ประตู
5 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ประตู
  • มาเลเซีย Ali Imran Sukari (ในนัดที่พบกับ ไทย)
  • มาเลเซีย Muhammad Nuh Azlan Syah Mohd Yusof (ในนัดที่พบกับ ไทย)

อ้างอิง[แก้]

  1. "Regulations AFF U-18 Youth Championship" (PDF). AFF.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]