ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาคริสตจักรในประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prithsu (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9254048 สร้างโดย BotKung (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
มีการเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมาก่อนการก่อตั้งสภาคริสตจักรอยู่แล้ว โดยคณะ[[มิชชันนารี]]เริ่มเข้ามาเผยแพร่ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เหล่า[[ศาสนาจารย์]]จาก[[คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน]]เริ่มเข้ามาเผยแพร่ศาสนาอย่างเป็นกิจลักษณะ ขยายไปยังจังหวัดอื่น ๆ เช่น เชียงใหม่ รวมถึงขยายไปยังประเทศลาวด้วย
มีการเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมาก่อนการก่อตั้งสภาคริสตจักรอยู่แล้ว โดยคณะ[[มิชชันนารี]]เริ่มเข้ามาเผยแพร่ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เหล่า[[ศาสนาจารย์]]จาก[[คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน]]เริ่มเข้ามาเผยแพร่ศาสนาอย่างเป็นกิจลักษณะ ขยายไปยังจังหวัดอื่น ๆ เช่น เชียงใหม่ รวมถึงขยายไปยังประเทศลาวด้วย


ในปี ค.ศ. 1928 ซึ่งครบรอบวาระ 100 ปีโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมีการเสนอให้จัดตั้งสภาคริสตจักรแห่งชาติขึ้น และในปี ค.ศ. 1930 ได้มีการจัดตั้ง “สยามคริสตสภา” ขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ยังอยู่ภายใต้การกํากับควบคุมดูแลของมิชชันนารีชาวต่างประเทศ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจึงเปลี่ยนเป็น “สภาคริสตจักรในประเทศไทย” และในปี ค.ศ. 1957 มิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียนสลายตัว จึงได้มอบความรับผิดชอบในการเผยแพร่ศาสนาให้แก่สภาคริสตจักรไทยโดยตรง
ในปี ค.ศ. 1928 ซึ่งครบรอบวาระ 100 ปีโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมีการเสนอให้จัดตั้งสภาคริสตจักรแห่งชาติขึ้น และในปี ค.ศ. 1930 ได้มีการจัดตั้ง “สยามคริสตสภา” ขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ยังอยู่ภายใต้การกำกับควบคุมดูแลของมิชชันนารีชาวต่างประเทศ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจึงเปลี่ยนเป็น “สภาคริสตจักรในประเทศไทย” และในปี ค.ศ. 1957 มิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียนสลายตัว จึงได้มอบความรับผิดชอบในการเผยแพร่ศาสนาให้แก่สภาคริสตจักรไทยโดยตรง


== หลักข้อเชื่อ ==
== หลักข้อเชื่อ ==
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
# เพื่อรวบรวมชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ทั้งหลายในประเทศไทยเข้าด้วยกัน
# เพื่อรวบรวมชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ทั้งหลายในประเทศไทยเข้าด้วยกัน
# เพื่อให้มีความสัมพันธ์ในการเผยแพร่พระกิตติคุณ และรับใช้พระเจ้าและชุมชนตามนํ้าพระทัยของพระเจ้า ด้วยวิธีการเลี้ยงตนเอง ปกครองตนเอง และสร้างเสริมกิจกรรมทั้งปวงให้เจริญเติบโตมั่นคงยิ่งขึ้น
# เพื่อให้มีความสัมพันธ์ในการเผยแพร่พระกิตติคุณ และรับใช้พระเจ้าและชุมชนตามนํ้าพระทัยของพระเจ้า ด้วยวิธีการเลี้ยงตนเอง ปกครองตนเอง และสร้างเสริมกิจกรรมทั้งปวงให้เจริญเติบโตมั่นคงยิ่งขึ้น
# เพื่อกระทําตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
# เพื่อกระทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ


== การทำงานเพื่อสังคม ==
== การทำงานเพื่อสังคม ==
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
* โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
* โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
* โรงเรียนนานาชาติเชียงใหม่
* โรงเรียนนานาชาติเชียงใหม่
* โรงเรียนบํารุงวิทยา
* โรงเรียนบำรุงวิทยา
* [[โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย]]
* [[โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย]]
* โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยเวียงป่าเป้า
* โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยเวียงป่าเป้า

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:14, 15 กุมภาพันธ์ 2564

สภาคริสตจักรในประเทศไทย
ชื่อย่อCCT
ก่อตั้งพ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1934)
ประเภทองค์การทางศาสนาคริสต์
สํานักงานใหญ่328 ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
ประธาน
ศจ. ดร.ทวีศักดิ์ มหชวโรจน์
เว็บไซต์The Church of Christ in Thailand

สภาคริสตจักรในประเทศไทย (อังกฤษ: The Church of Christ in Thailand) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 20 จุด

ประวัติ

มีการเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมาก่อนการก่อตั้งสภาคริสตจักรอยู่แล้ว โดยคณะมิชชันนารีเริ่มเข้ามาเผยแพร่ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เหล่าศาสนาจารย์จากคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียนเริ่มเข้ามาเผยแพร่ศาสนาอย่างเป็นกิจลักษณะ ขยายไปยังจังหวัดอื่น ๆ เช่น เชียงใหม่ รวมถึงขยายไปยังประเทศลาวด้วย

ในปี ค.ศ. 1928 ซึ่งครบรอบวาระ 100 ปีโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมีการเสนอให้จัดตั้งสภาคริสตจักรแห่งชาติขึ้น และในปี ค.ศ. 1930 ได้มีการจัดตั้ง “สยามคริสตสภา” ขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ยังอยู่ภายใต้การกำกับควบคุมดูแลของมิชชันนารีชาวต่างประเทศ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจึงเปลี่ยนเป็น “สภาคริสตจักรในประเทศไทย” และในปี ค.ศ. 1957 มิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียนสลายตัว จึงได้มอบความรับผิดชอบในการเผยแพร่ศาสนาให้แก่สภาคริสตจักรไทยโดยตรง

หลักข้อเชื่อ

สภาคริสตจักรในประเทศไทยยึดถือหลักข้อเชื่อจาก 3 แหล่ง คือคัมภีร์ไบเบิล หลักข้อเชื่อของอัครทูต และหลักข้อเชื่อไนซีน[1]

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ขององค์การมีอยู่สามประการด้วยกันคือ

  1. เพื่อรวบรวมชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ทั้งหลายในประเทศไทยเข้าด้วยกัน
  2. เพื่อให้มีความสัมพันธ์ในการเผยแพร่พระกิตติคุณ และรับใช้พระเจ้าและชุมชนตามนํ้าพระทัยของพระเจ้า ด้วยวิธีการเลี้ยงตนเอง ปกครองตนเอง และสร้างเสริมกิจกรรมทั้งปวงให้เจริญเติบโตมั่นคงยิ่งขึ้น
  3. เพื่อกระทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

การทำงานเพื่อสังคม

สภาคริสตจักรได้ก่อตั้งโรงพยาบาลและสถานศึกษาต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยพายัพ ตลอดจนบรรเทาสาธารณภัย ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในเขตสลัม [2]

สถาบันการศึกษา

สถาบันอุดมศึกษา

มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีมหาวิทยาลัยในเครือ 2 แห่ง คือ

โรงเรียน

มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีโรงเรียนในเครือ 27 แห่ง คือ

วิทยาลัยพระคริสตธรรม

มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีวิทยาลัยพระคริสตธรรมในเครือ 7 แห่ง คือ

สถาบันการแพทย์

มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีสถาบันการแพทย์ในเครือ 8 แห่ง คือ

อ้างอิง