ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออล นิปปอน แอร์เวย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| lounge = ANA Suit lounge
| lounge = ANA Suit lounge
| alliance = [[สตาร์อัลไลแอนซ์]]
| alliance = [[สตาร์อัลไลแอนซ์]]
| fleet_size = 219
| fleet_size = 241
| destinations = 89
| destinations = 97
| website = http://www.ana.co.jp
| website = http://www.ana.co.jp
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:27, 11 กรกฎาคม 2563

All Nippon Airways
全日本空輸
Zen-nippon Kūyu
IATA ICAO รหัสเรียก
NH ANA All Nippon
ก่อตั้ง27 ธันวาคม พ.ศ. 2495 (71 ปี) (as Nippon Helicopter)
ท่าหลักท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ
ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว
ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ
ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ
เมืองสำคัญท่าอากาศยานชูบุเซ็นแทรร์
ท่าอากาศยานชินชิโตเซะ
สะสมไมล์ANA ไมล์เอจ คลับ
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์
ขนาดฝูงบิน241
จุดหมาย97
บริษัทแม่All Nippon Airways Co., Ltd.
สำนักงานใหญ่ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
บุคลากรหลักโอะซะมุ ชิโนะเบะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)
Yoji Ohashi (กรรมการผู้จัดการใหญ่)
เว็บไซต์http://www.ana.co.jp

ออลนิปปอนแอร์เวย์ (All Nippon Airways) หรือ บริษัท เดินอากาศเซ็งนิปปง มหาชนจำกัด (ญี่ปุ่น: 全日本空輸株式会社) หรือย่อว่า ANA เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และมีท่าอากาศยานหลักนานาชาติคือ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ และ ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ (โอซากะใต้) และมีท่าอากาศยานหลักภายในประเทศคือ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ ท่าอากาศยานชูบุเซ็นแทรร์ (นาโงยะ) และ ท่าอากาศยานชินชิโตเซะ (ซัปโปโร)

ANA จัดตั้งขึ้นโดยการควบรวมของ แอร์นิปปอน (สายการบินภูมิภาค) และ แอร์เจแปน (ผู้ให้บริการเช่าเหมาลำ) และต่อมาในปี 2547 ANA ได้จัดตั้งสายการบินต้นทุนต่ำในนามของ แอร์เน็กซ์ (Air Next) เพื่อทำการบินจากท่าอากาศยานฟุกุโอกะ ซึ่งเริ่มทำการบินครั้งแรกในปี 2548 และในปีเดียวกันนั้น (2547) ANA ได้เป็นผู้ถืหุ้นหลักในสายการบินนะกะนิคอน แอร์ไลน์ เซอร์วิส (NAL) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองนาโงยะ และในปี 2548 ได้เปลี่ยนชื่อนะกะนิคอนฯ เป็น แอร์ เซ็นทรัล พร้อมทั้งย้ายที่ทำการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ประวัติ

สายการบินนี้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2495 ในนามของ นิปปอนเฮลิคอปเตอร์ แอนด์ แอร์โร่เพลน โดยมีชื่อย่อว่า NH NH เริ่มบริการเที่ยวบินเฮลิคอปเตอร์ครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2496 โดยเป็นเที่ยวบินเช่าเหมาลำ และ 15 ธันวาคมปีเดียวกัน NH ได้ทำการบินในเที่ยวบินขนส่งสินค้า ระหว่างโอซากะและโตเกียวด้วยเครื่องบินรุ่น de Havilland Dove ต่อมาให้บริการเที่ยวบินผู้โดยสารในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2497 ในเส้นทางเดียวกัน และทำการเปลี่ยนอากาศยานเป็นรุ่น de Havilland Heron และได้ขยายเส้นทางการบินสู่คิวชู และ ซัปโปโร

ฟาร์อีสเทิร์นแอร์ไลน์ (Far Eastern Airlines) เป็นอีกสายการบินหนึ่งที่เป็นส่วนก่อตั้ง ANA โดย FEA ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2495 ก่อนหน้า NH เพียงหนึ่งวัน แต่กระนั้นก็มิได้ทำการบินจนกระทั่งวันที่ 20 มกราคม 2497 ในเที่ยวบินขนส่งสินค้า ระหว่างโอซากะและโตเกียว และใช้เครื่อง de Havilland Dove และขยายเส้นทางจากโตเกียวสู่ คาโกชิม่า

FEA ได้ควบรวมกิจการกับ NH ในวันที่ 1 ธันวาคม 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็น ออล นิปปอน แอร์เวย์ โดยสาหเตุที่เลือกชื่อนี้เพราะว่า คำว่า Japan Airlines แม้จะเป็นชื่อสามัญ แต่ได้จดทะเบียนเป็นชื่อสายการบินไปแล้ว จนในที่สุดได้เลือกเอาชื่อ "ออล นิปปอน แอรเวย์" มาใช้อย่างเป็นทางการ

อุบัติเหตุ และเหตุสุดวิสัย

Shiodome City Center

ตั้งแต่ปี 1971 ANA ยังไม่เกิดเหตุอันตรายร้ายแรง

จุดหมายปลายทาง

เอเชียตะวันออก

  • สาธารณรัฐประชาชนจีน
    • ปักกิ่ง (ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง)
    • Dalian (Dalian Zhoushuizi International Airport)
    • กวางโจว (ท่าอากาศยานนานาชาติกวางโจวไป๋หยุน)
    • หางโจว (Hangzhou Xiaoshan International Airport)
    • ฮ่องกง (ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง)
    • Qingdao (Qingdao Liuting International Airport)
    • เซี่ยงไฮ้
      • (Shanghai Hongqiao International Airport)
      • (Shanghai Pudong International Airport)
    • เซินหยาง (Shenyang Taoxian International Airport)
    • เทียนจิน (ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่) [ends March 29]
    • เซียะเหมิน (Xiamen Gaoqi International Airport)
  • สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
    • ไทเป (ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถาหยวน)
  • เกาหลีใต้
    • โซล
      • (Gimpo International Airport)
      • (ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน)
ญี่ปุ่น

[2]

=คันโต=
  • จังหวัดจิบะ
    • นาริตะ (ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ) Hub
      • Narita International Airport serves Tokyo-area international traffic
  • โตเกียว
    • Hachijōjima (Hachijojima Airport)
    • Miyakejima (Miyakejima Airport)
    • Ōshima (Oshima Airport)
    • Ōta (Special wards of Tokyo) (Tokyo International Airport - Haneda Airport) Hub
=Chūbu=
  • จังหวัดไอจิ
    • นาโงยะ (ท่าอากาศยานนานาชาติจูบุ)
  • Ishikawa Prefecture
    • Komatsu (Komatsu Airport)
    • Wajima (Noto Airport)
  • Niigata Prefecture
    • Niigata (Niigata Airport)
  • Toyama Prefecture
    • Toyama (Toyama Airport)
=คันไซ=
  • จังหวัดเฮียวโงะ
    • โกเบ (ท่าอากาศยานโกเบ)
    • ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากา (Itami Airport) is partially located in Hyōgo Prefecture and partially in Osaka Prefecture - See Osaka Prefecture for other Osaka-area airports
  • จังหวัดโอซากา
    • โอซากา (for Kobe Airport see Hyōgo Prefecture)
      • (ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากา - Itami Airport) Hub (The airport is partially located in Osaka Prefecture and partially located in Hyōgo Prefecture)
      • (ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ) Hub
=Chūgoku=
  • จังหวัดฮิโรชิมา
    • ฮิโรชิมา (ท่าอากาศยานฮิโรชิมา)
  • จังหวัดโอกายามา
    • โอกายามา (ท่าอากาศยานโอกายามา)
  • จังหวัดชิมาเนะ
    • Ōnan/Hagi, Yamaguchi Prefecture (ท่าอากาศยานอิวามิ)
  • Tottori Prefecture
    • Tottori (Tottori Airport)
    • Yonago (Miho-Yonago Airport)
  • Yamaguchi Prefecture (for Iwami Airport, see Shimane Prefecture)
    • Yamaguchi-Ube (Yamaguchi Ube Airport)
=Tōhoku=
  • Akita Prefecture
    • Akita (Akita Airport)
    • Odate-Noshiro (Odate-Noshiro Airport)
  • Fukushima Prefecture
    • Fukushima (Fukushima Airport)
  • Miyagi Prefecture
    • เซนได (ท่าอากาศยานเซนได)
  • Yamagata Prefecture
    • Shōnai (Shonai Airport)
=ฮอกไกโด=
  • ฮอกไกโด
    • Asahikawa (Asahikawa Airport)
    • Hakodate (Hakodate Airport)
    • Kushiro (Kushiro Airport)
    • Monbetsu (Monbetsu Airport)
    • Nakashibetsu (Nakashibetsu Airport)
    • Ōzora (Memanbetsu Airport)
    • Rishiri Island (Rishiri Airport)
    • ซัปโปโร
      • (New Chitose Airport)
      • (Okadama Airport)
    • Wakkanai
=Shikoku=
  • จังหวัดเอฮิเมะ
    • Matsuyama (Matsuyama Airport)
  • Kagawa Prefecture
    • Takamatsu (Takamatsu Airport)
  • Kōchi Prefecture
    • Kōchi (Kōchi Ryōma Airport)
  • Tokushima Prefecture
    • Tokushima
=คิวชู=
  • จังหวัดฟุกุโอกะ
    • ฟุกุโอกะ (ท่าอากาศยานฟุกุโอกะ)
  • Kagoshima Prefecture
    • Kagoshima (Kagoshima Airport)
  • Kumamoto Prefecture
    • Kumamoto (Kumamoto Airport)
  • Miyazaki Prefecture
    • Miyazaki (Miyazaki Airport)
  • จังหวัดนางาซากิ
    • Gotō-Fukue (Goto-Fukue Airport)
    • นางาซากิ (ท่าอากาศยานนางาซากิ)
    • Tsushima Island (Tsushima Airport)
  • Ōita Prefecture
    • Ōita (Oita Airport)
  • Okinawa Prefecture
    • Ishigaki (Ishigaki Airport)
    • Miyakojima (Miyako Airport)
    • Naha, Okinawa Island (Naha Airport)
  • Saga Prefecture
    • Saga (Saga Airport)

เอเชียใต้

  • อินเดีย
    • มุมไบ (Chhatrapati Shivaji International Airport)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

  • สิงคโปร์
    • สิงคโปร์ (ท่าอากาศยานจางีสิงคโปร์)
  • ไทย
    • กรุงเทพมหานคร (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)
  • เวียดนาม
    • โฮจิมินห์ซิตี (ท่าอากาศยานนานาชาติเติ่นเซินเญิ้ต)

ยุโรป

[3]

  • ฝรั่งเศส
    • ปารีส (ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์)
  • เยอรมนี
    • แฟรงค์เฟิร์ต (ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต)
  • สหราชอาณาจักร
    • ลอนดอน (ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์)

อเมริกาเหนือ

  • สหรัฐอเมริกา[4]
    • ชิคาโก (O'Hare International Airport)
    • Honolulu (Honolulu International Airport) [5]
    • ลอสแอนเจลิส (ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส)
    • นิวยอร์ก (John F. Kennedy International Airport)
    • ซานฟรานซิสโก (ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก)
    • วอชิงตัน ดีซี (Washington Dulles International Airport)
    • ซีแอตเทิล

Terminated destinations

Does NOT include former codeshares

Terminated in Asia

  • India [1]
    • Delhi
  • Indonesia [2]
    • Denpasar

Terminated in Europe

  • Austria [3]
    • Vienna (Vienna International Airport)
  • Italy
    • Milan (Malpensa International Airport) [to resume]
    • Rome (Leonardo Da Vinci Airport)
  • Russia
    • Moscow (Sheremetyevo International Airport)

Terminated in North America

  • United States [4]
    • Orlando

Terminated in Oceania

  • Australia
    • Brisbane [5]
    • Sydney
  • Guam (United States)
    • Guam (Antonio B. Won Pat International Airport) [6]
  • Northern Mariana Islands (US)
    • Saipan

ฝูงบิน

ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ออล นิปปอน แอร์เวย์ มีเครื่องบินทั้งสิ้น 259 ลำ ดังนี้[1][2]

ฝูงบินของออล นิปปอน แอร์เวย์
เครื่องบิน จำนวน สั่งซื้อ ความจุผู้โดยสาร หมายเหตุ
F C P Y
รวม
แอร์บัส เอ 320-200
14

166 166
20 90 110
แอร์บัส เอ 320นีโอ 6 1 8 138 146
แอร์บัส เอ 321-200 4 8 186 194
แอร์บัส เอ 321นีโอ 8 18 8 186 194
แอร์บัส เอ 380-800 1 2 8 56 73 383 520
โบอิง 737-700
20
8 112 120
โบอิง 737-700ER
2
24 20 44
38 38
โบอิง 737-800
31
4
176 176 รับมอบในปี 2012-2014
8 159 167
โบอิง 767-300
22
10 260 270 เครื่องบินรุ่นนี้จะถูกปลดประจำการและแทนที่ด้วย โบอิง 787.[3]
โบอิง 767-300ER
35
10 260 270 เครื่องบินรุ่นนี้จะถูกปลดประจำการและแทนที่ด้วย โบอิง 787[3]
35 179 214
167 202
โบอิง 777-200
16
21 384 405 จะถูกแทนที่โดยโบอิง 787-9.[3]
โบอิง 777-200ER
12
21 384 405 รับมอบในปี 2013
35 271 306
70 36 117 223
โบอิง 777-300
7
21 493 514
โบอิง 777-300ER
20
8
8 52 24 166 250
52 180 264
68 112 212
โบอิง 777-9X
20
TBA
โบอิง 787-8
32
4
12 323 335
12 252 264
42 180 222
46 112 158
โบอิง 787-9 30 14 18 377 395 Deliveries until 2020.
แทนเครื่อง โบอิ้ง 777-200.
เครื่องบินลำเดียวที่ทาสีเครื่องบิน Star Wars BB-8
40 14 192 246
48 21 146 215
TBA
โบอิง 787-10
3
Mitsubishi MRJ90
15
TBA เริ่มให้บริการในปี 2015
รวม 181 73

อายุเฉลี่ยของฝูงบินอยู่ที่ 9.8 ปี

บริษัทลูก

  • Air Nippon
  • Air Nippon Network (A-net)
  • Air Next
  • Air Japan
  • Air Central ( ถือหุ้น 55% )
  • ANA Cargo
  • Air Hokkaido ( ถือหุ้น 80%)

เกร็ดเล็กน้อย

ANA โบอิ้ง 747-400 (JA8962), ซึ่งมีลวดลายเป็นภาพตัวละคร จากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องโปเกมอน
  • มีเครื่องบิบเจ็ต 3 ลำ มีลวดลายจากการ์ตูนเรื่องโปเกมอน ( ประกอบด้วย 747-481 จำนวนสองลำ และ โบอิ้ง 767-381 )
  • เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของเกม Taito flight simulator arcade game
  • ANA เป็นผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการของซีรี่ซ์ญี่ปุ่นเรื่อง Good Luck!! ซึ่งนำแสดงโดย ทาคุยะ คิมุระ และ โค ชิบาซากิ โดยเป็นเรื่องเกี่ยวกับกัปตันของสายการบิน
  • เครื่องบินที่เกิดอุบัติเหตุได้นำไปใช้ในภาพยนตร์เรื่อง War of the Worlds

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ fleet
  2. ANA Corporate Profile
  3. 3.0 3.1 3.2 "ANA orders 11 more 787-9s". ATWOnline.