ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ssttgo (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 331: บรรทัด 331:
|[[ซีเอเอฟ]]||'''0'''||'''2''' (2010, 2013)||'''1''' (2006)
|[[ซีเอเอฟ]]||'''0'''||'''2''' (2010, 2013)||'''1''' (2006)
|-
|-
|[[คอนคาเคฟ]]||'''0'''||'''0'''||'''5''' (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
|[[คอนคาแคฟ]]||'''0'''||'''0'''||'''5''' (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
|-
|-
|[[โอเอฟซี]]||'''0'''||'''0'''||'''1''' (2014)
|[[โอเอฟซี]]||'''0'''||'''0'''||'''1''' (2014)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:14, 9 กุมภาพันธ์ 2563

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
logo
ก่อตั้งพ.ศ. 2543 (2000)
ภูมิภาคนานาชาติ (ฟีฟ่า)
จำนวนทีม7 ทีม (จาก 6 สมาพันธ์)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอังกฤษ ลิเวอร์พูล (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน เรอัลมาดริด (4 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์บีอินสปอตส์
เว็บไซต์www.fifa.com/clubworldcup
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกหรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ (อังกฤษ: FIFA Club World Cup) [1][2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 ที่ประเทศบราซิล ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป โดยฟีฟ่าได้จัดตั้งการแข่งขันรายการนี้ขึ้นเพื่อใช้แทนการแข่งขันรายการเดิมที่ชื่ออินเตอร์คอนติเนนตัลคัพหรือโตโยต้าคัพซึ่งถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 2004 เพื่อมารวมรายการนี้ ในปี ค.ศ. 2005 ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิร์ดคัพ ทีมที่ชนะเลิศจากทุกทวีปที่จะมาแข่งขันร่วมรายการนี้ โดยทีมชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากยุโรปและโกปาลิเบร์ตาโดเรสจากอเมริกาใต้ จะเข้าไปรอแข่งขันในรอบรองชนะเลิศทันที

ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุด คือ เรอัลมาดริด (สเปน, 4 ครั้ง) อันดับสอง คือ บาร์เซโลนา (สเปน, 3 ครั้ง) อันดับสาม คือ คอรินเทียนส์ (บราซิล, 2 ครั้ง)

สโมสรที่ชนะเลิศล่าสุดในปัจจุบันจะได้รับการติดตราแชมป์โลกที่เสื้อสโมสรในรายการแข่งขันของฟีฟ่าไปตลอดจนกว่าจะมีการเปลี่ยนทีมสโมสรที่ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกในอนาคต

ทีมสโมสรที่ชนะเลิศครั้งล่าสุด คือ ลิเวอร์พูลจากอังกฤษ ซึ่งชนะเลิศได้เป็นสมัยที่ 1 ในรายการนี้โดยเอาชนะฟลาเม็งกูจากบราซิลไป 1-0 ช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ 120 นาที ของนัดชิงชนะเลิศ 2019

ทำเนียบทีมชนะเลิศในแต่ละปี

ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลคะแนน อันดับ 4 สนาม
ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ
2019
รายละเอียด
 กาตาร์ อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1-0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
บราซิล ฟลาเม็งกู เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ 2-2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4-3
(ดวลจุดโทษ)
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล สนามกีฬาเอ็ดดูเคชันซิตี,
โดฮา ประเทศกาตาร์
2018
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน เรอัลมาดริด 4-1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์ อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต 4-0 ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2017
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน เรอัลมาดริด 1-0 บราซิล อาแลเกร็งซี เม็กซิโก ปาชูกา 4-1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลญะซีเราะฮ์ สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2016
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน เรอัลมาดริด 4 - 2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล 2 - 2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 3
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก กลุบอาเมริกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2015
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน บาร์เซโลนา 3 - 0 อาร์เจนตินา รีเบร์เปลต ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 2 - 1 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2014
รายละเอียด
 โมร็อกโก สเปน เรอัลมาดริด 2 - 0 อาร์เจนตินา ซานโลเรนโซ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ซิตี 1-1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 2
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก กรุซอาซุล สตาด เดอ มาร์ราคิช,
มาร์ราคิช โมร็อกโก
2013
รายละเอียด
 โมร็อกโก เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 2 - 0 โมร็อกโก ราจาคาซาบลังกา บราซิล อัตเลชีกูมีเนย์รู 3–2 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ สตาด เดอ มาร์ราคิช,
มาร์ราคิช โมร็อกโก
2012
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล คอรินเทียนส์ 1 - 0 อังกฤษ เชลซี เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ 2–0 อียิปต์ อัลอะฮ์ลี สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2011
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน บาร์เซโลนา 4 - 0 บราซิล ซังตุส ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์ 0–0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
5 - 3
(ดวลจุดโทษ)
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2010
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3 - 0 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มาเซมเบ บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 4–2 เกาหลีใต้ ซองนัมอิลฮวาชอนมา สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2009
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน บาร์เซโลนา 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ 1–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 3
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก แอตแลนเต สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2008
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น อังกฤษ แมนเชสเตอร์

ยูไนเต็ด

1 - 0 เอกวาดอร์ แอลดียู กีโต ญี่ปุ่น กัมบะ โอซากะ 1–0 เม็กซิโก ปาชูกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2007
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น อิตาลี เอซี มิลาน 4 - 2 อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 2
(ดวลจุดโทษ)
ตูนิเซีย อีตวล ดู ซาฮีล สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2006
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 1 - 0 สเปน บาร์เซโลนา อียิปต์ อัลอะฮ์ลี 2–1 เม็กซิโก กลุบอาเมริกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2005
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล เซาเปาลู 1 - 0 อังกฤษ ลิเวอร์พูล คอสตาริกา ซาปริซา 3–2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป
2000
รายละเอียด
 บราซิล บราซิล คอรินเทียนส์ 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 3
(ดวลจุดโทษ)
บราซิล วัชกู ดา กามา เม็กซิโก เนกาซา 1–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 3
(ดวลจุดโทษ)
สเปน เรอัลมาดริด มารากานัง,
รีโอเดจาเนโร บราซิล

ทีมชนะเลิศสโมสรโลก

ชนะเลิศ-แยกตามสโมสร

สโมสร ชนะเลิศ ปีชนะเลิศ
สเปน เรอัลมาดริด 4 2014, 2016, 2017, 2018
สเปน บาร์เซโลนา 3 2009, 2011, 2015
บราซิล คอรินเทียนส์ 2 2000, 2012
บราซิล เซาเปาลู 1 2005
บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 1 2006
อิตาลี เอซี มิลาน 1 2007
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 2008
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 2010
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1 2013
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 2019

ชนะเลิศ-แยกตามชาติ

ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
สเปน สเปน 7 1 (2009, 2011, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018) (2006)
บราซิล บราซิล 4 4 (2000, 2005, 2006, 2012) (2000, 2011, 2017, 2019)
อังกฤษ อังกฤษ 2 2 (2008, 2019) (2005, 2012)
อิตาลี อิตาลี 2 0 (2007, 2010)
เยอรมนี เยอรมนี 1 0 (2013)
อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 0 4 (2007, 2009, 2014, 2015)
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 0 1 (2008)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 0 1 (2010)
โมร็อกโก โมร็อกโก 0 1 (2013)
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 1 (2016)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0 1 (2018)

ชนะเลิศ-แยกตามเมือง

เมือง ชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ
สเปน มาดริด 4 เรอัลมาดริด (2014, 2016, 2017, 2018)
สเปน บาร์เซโลนา 3 บาร์เซโลนา (2009, 2011, 2015)
บราซิล เซาเปาลู 3 คอรินเทียนส์ (2000, 2012), เซาเปาลู (2005)
อิตาลี มิลาน 2 เอซี มิลาน (2007), อินเตอร์มิลาน (2010)
บราซิล โปร์ตูอาเลกรี 1 อิงเตร์นาซีโยนัล (2006)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ 1 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (2008)
เยอรมนี มิวนิก 1 ไบเอิร์นมิวนิก (2013)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 ลิเวอร์พูล (2019)

ชนะเลิศ-แยกตามสมาพันธ์ฟุตบอล

สมาพันธ์ฟุตบอล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3
ยูฟ่า 12 (2007, 2008, 2009, 2010, 2011, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019) 3 (2005, 2006, 2012) 0
คอนเมบอล 4 (2000, 2005, 2006, 2012) 9 (2000, 2007, 2008, 2009, 2011, 2014, 2015, 2017, 2019) 4 (2010, 2013, 2016, 2018)
เอเอฟซี 0 2 (2016, 2018) 5 (2007, 2008, 2009, 2011, 2015)
ซีเอเอฟ 0 2 (2010, 2013) 1 (2006)
คอนคาแคฟ 0 0 5 (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
โอเอฟซี 0 0 1 (2014)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "FIFA Club World Championship TOYOTA Cup Japan 2005: Report and Statistics" (PDF). pp. 5, 19.
  2. "FIFA Club World Cup UAE 2017: Statistical Kit" (PDF). pp. 15, 40, 41, 42.

แหล่งข้อมูลอื่น