สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี

พิกัด: 24°24′57.92″N 54°27′12.93″E / 24.4160889°N 54.4535917°E / 24.4160889; 54.4535917
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี พ.ศ. 2559
แผนที่
ชื่อเต็มสนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
ที่ตั้งอาบูดาบี
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
พิกัด24°24′57.92″N 54°27′12.93″E / 24.4160889°N 54.4535917°E / 24.4160889; 54.4535917
เจ้าของบริษัทการพัฒนามูบาดาลา
ผู้ดำเนินการบริษัทความบันเทิงอาบูดาบี
ที่นั่งพิเศษ6 ที่นั่ง
ความจุ43,620 ที่นั่ง
60,000 ที่นั่ง (ค.ศ. 1980–2009)
63,578 ที่นั่ง (เอเชียนคัพ 2019)
พื้นผิวหญ้า
ป้ายแสดงคะแนนมี
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็มค.ศ. 1974
เปิดใช้สนามค.ศ. 1979
ปรับปรุงค.ศ. 2009
งบประมาณในการก่อสร้าง550 ล้านดิรฮัม
สถาปนิกHenri Colboc, Pierre Dalidet, George Philippe
ผู้รับเหมาทั่วไปConsolidated Contractors Company
การใช้งาน
ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ค.ศ. 1980–ปัจจุบัน)
เอเชียนคัพ 1996
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลก 2003
กัลฟ์คัพออฟเนชันส์ 2007
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2009
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2010
เอเชียนคัพ 2019
ยูเออีเพรสซิเดนท์คัพ รอบชิงชนะเลิศ
เว็บไซต์
www.zsc.ae

สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี (อาหรับ: ستاد مدينة زايد الرياضية) เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่ในย่านซายิดสปอตส์ซิตี อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์[1] เป็นสนามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ มีความจุกว่า 43,000 ที่นั่ง สนามแห่งนี้ยังปรากฏอยู่บนธนบัตร 200 ดิรฮัมอีกด้วย

สนามเปิดใช้งานในปี ค.ศ. 1979[2] และได้ปรับปรุง เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อรองรับการแข่งขันระดับนานาชาติ

สนามกีฬาแห่งนี้มักใช้จัดงานแข่งขันสำคัญต่าง ๆ เช่น เอเชียนคัพ 1996 รอบชิงชนะเลิศ ระหว่างสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กับซาอุดีอาระเบีย (ซาอุดีอาระเบียชนะด้วยการยิงลูกโทษ), กัลฟ์คัพออฟเนชันส์ 2007 รอบชิงชนะเลิศ ระหว่างสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กับโอมาน, ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2009 และ 2010 รอบรองชนะเลิศและชิงชนะเลิศ และจะใช้จัดงานฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017 กับ 2018[3] และเอเชียนคัพ 2019 ในอนาคต

เอเชียนคัพ 2019[แก้]

วันที่ เวลา ทีมที่หนึ่ง ผลการแข่งขัน ทีมที่สอง รอบ ผู้เข้าชม
5 มกราคม 2019 20:00 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–1 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน กลุ่มเอ 33,878 คน
8 มกราคม 2019 17:30 ธงชาติอิรัก อิรัก 3–2 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม กลุ่มดี 4,779 คน
10 มกราคม 2019 20:00 ธงชาติอินเดีย อินเดีย 0–2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่มเอ 43,206 คน
13 มกราคม 2019 17:30 ธงชาติโอมาน โอมาน นัดที่ 23 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น กลุ่มเอฟ
17 มกราคม 2019 20:00 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย นัดที่ 35 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ กลุ่มอี
21 มกราคม 2019 21:00 ชนะเลิศ กลุ่ม A นัดที่ 42 อันดับ 3 กลุ่ม C/D/E รอบ 16 ทีม
25 มกราคม 2019 17:00 ชนะเลิศ นัดที่ 43 นัดที่ 47 ชนะเลิศ นัดที่ 44 รอบ 8 ทีม
1 กุมภาพันธ์ 2019 18:00 ชนะเลิศ นัดที่ 49 นัดที่ 51 ชนะเลิศ นัดที่ 50 รอบชิงชนะเลิศ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Abu Dhabi Football Stadium - Hold Your Events in Style". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-09. สืบค้นเมื่อ 30 January 2016.
  2. "#360business: Zayed Sports City integral in UAE sporting development". sport360.com. สืบค้นเมื่อ 2015-10-18.
  3. "UAE to host Fifa Club World Cup in 2017 and 2018 | The National". www.thenational.ae. สืบค้นเมื่อ 2015-10-18.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี ถัดไป
ฮิโรชิมะบิ๊กอาร์ช
ฮิโรชิมะ
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(1996)
สนามกีฬาคามิลเลคามูนสปอตส์ซิตี
เบรุต
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์
โดฮา
กัลฟ์คัพออฟเนชันส์
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2007)
สุลต่านกาบูสสปอร์ตคอมเพล็กซ์
มัสกัต
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
โยโกฮามะ
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2009, 2010)
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
โยโกฮามะ
สนามกีฬาออสเตรเลีย
ซิดนีย์
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2019)
รอประกาศ