ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 นัดชิงชนะเลิศ
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020
วันที่11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
สนามเอดูเคชันซิตี สเตเดียม, อาร์รอยยัน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
โยซูอา คิมมิช (ไบเอิร์นมิวนิก)[1]
ผู้ตัดสินเอสเตบัน ออสโตยิช (อุรุกวัย)[2]
สภาพอากาศกลางคืนสดใส
19 °C (66 °F)
78% ความชื้นสัมพัทธ์[3]
2019
2021

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 นัดชิงชนะเลิศ เป็นนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลสโมสรที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโดยประเทศกาตาร์. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 17 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, หนึ่งทัวร์นาเมนต์ที่รับรองโดยฟีฟ่า ระหว่างแชมป์สโมสรจากแต่ละหกสมาพันธ์ทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกของประเทศเจ้าภาพ.

ทีม[แก้]

ในตารางด้านล่างนี้, นัดชิงชนะเลิศตั้งแต่ปี 2005 จะเป็นยุคฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป, เมื่อปี 2006 จะเป็นในยุคฟีฟ่าคลับเวิลด๋คัพ.

ทีม สมาพันธ์ การคัดเลือกสำหรับทัวร์นาเมนต์ ครั้งที่ผ่านมานัดชิงชนะเลิศคลับเวิลด์แชมเปียนชิป
(ตัวหนาหมายถึงปีที่ทีมชนะเลิศ)
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก ยูฟ่า ชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 IC: 2 (1976, 2001)[note 1]
FCWC: 1 (2013)
เม็กซิโก ยูเอเอ็นแอล CONCACAF ชนะเลิศของ คอนคาเคฟแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2020 ไม่เคย

หมายเหตุ: เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 2017, ฟีฟ่า ได้รับการยอมรับเป็นทางการว่าแชมป์ทุกรายการของอินเตอร์คอนติเนนตัลคัพในฐานะแชมป์โลกของสโมสร, ในสถานะที่เท่าเทียมกับฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก.[5]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก ทีม เม็กซิโก ยูเอเอ็นแอล
คู่แข่งขัน ผล ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 คู่แข่งขัน ผล
บาย รอบสอง เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 2–1
อียิปต์ อัล อะห์ลี 2–0 รอบรองชนะเลิศ บราซิล ปัลเมย์รัส 1–0

แมตช์[แก้]

รายละเอียด[แก้]

ไบเอิร์นมิวนิก[6]
ยูเอเอ็นแอล[6]
GK 1 เยอรมนี มานูเอ็ล น็อยเออร์ (กัปตัน)
RB 5 ฝรั่งเศส แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์
CB 4 เยอรมนี นิคคลัส ซือเลอ
CB 21 ฝรั่งเศส ลูกัส แอร์น็องแดซ
LB 19 แคนาดา อัลฟอนโซ เดวีส์
CM 6 เยอรมนี โยซูอา คิมมิช
CM 27 ออสเตรีย ดาวิด อาลาบา
AM 10 เยอรมนี ลีร็อย ซาเน Substituted off in the 73 นาที 73'
RW 29 ฝรั่งเศส กีงส์แล กอมาน Substituted off in the 73 นาที 73'
LW 7 เยอรมนี แซร์ช กนาบรี Substituted off in the 64 นาที 64'
CF 9 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี Substituted off in the 73 นาที 73'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 34 เยอรมนี ลูคัส ชเนลเลอร์
GK 39 เยอรมนี ร็อน-ทอร์เบิน ฮ็อฟฟ์มันน์
DF 20 ฝรั่งเศส บูนา ซาร์
MF 22 สเปน มาร์ก โรกา
MF 24 ฝรั่งเศส กอร็องแต็ง ตอลีโซ Substituted on in the 64 minute 64'
MF 28 โปรตุเกส ตีอากู ดันตัส
MF 42 อังกฤษ จามาล มูเซียลา Substituted on in the 73 minute 73'
FW 11 บราซิล โดกลัส กอสตา Substituted on in the 73 minute 73'
FW 13 แคเมอรูน เอริก มักซิม ชูโป-โมติง Substituted on in the 73 minute 73'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี ฮันส์-ดีเทอร์ ฟลิค
GK 1 อาร์เจนตินา นาฮูเอล กุซมัน
RB 28 เม็กซิโก ลุยส์ โรดริเกซ โดนใบเหลือง ใน 69 นาที 69' Substituted off in the 80 นาที 80'
CB 13 เม็กซิโก ดิเอโก เรเยส
CB 3 เม็กซิโก การ์โลส ซัลเซโด
LB 29 เม็กซิโก เฆซุส ดูเอญัส โดนใบเหลือง ใน 42 นาที 42'
RM 20 เม็กซิโก ฆาบิเอร์ อากีโน
CM 5 บราซิล ราฟาเอล คาริโอกา โดนใบเหลือง ใน 90 นาที 90'
CM 19 อาร์เจนตินา กุยโด ปิซาร์โร (กัปตัน)
LM 23 โคลอมเบีย ลุยส์ กีโญเนส
CF 32 ปารากวัย คาร์ลอส กอนซาเลซ
CF 10 ฝรั่งเศส อ็องแดร-ปิแอร์ ฌีญัก
ผู้เล่นสำรอง:
GK 35 เม็กซิโก ฮวน ปาโบล ชาเวซ
GK 50 เม็กซิโก อาร์ตูโร เดลกาโด
DF 4 เม็กซิโก ฮูโก อายาลา
DF 14 เม็กซิโก ฮวน ซานเชซ
DF 18 เม็กซิโก อัลโด กรุซ
DF 21 โคลอมเบีย ฟรันซิสโก เมซา
DF 43 เม็กซิโก อีริค อาวาโลส
MF 8 เอกวาดอร์ จอร์แดน เซียร์รา
MF 17 อุรุกวัย เลโอนาร์โด เฟร์นันเดซ
MF 22 เม็กซิโก เรย์มุนโด ฟุลเกนซิโอ
FW 33 โคลอมเบีย ฮูลิอัน กีโญเนส Substituted on in the 80 minute 80'
FW 52 เม็กซิโก แพทริค โอกามา
ผู้จัดการทีม:
บราซิล ริการ์ดู แฟร์เร็ตติ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
โยซูอา คิมมิช (ไบเอิร์นมิวนิก)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Nicolás Taran (อุรุกวัย)
Richard Trinidad (Uruguay)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Edina Alves Batista (บราซิล)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:[2]
Neuza Back (บราซิล)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Julio Bascuñán (ชิลี)[note 2]
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Khamis Al-Marri (กาตาร์)[note 2]

ข้อมูลในการแข่งขัน[8][9]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 5 คนในช่วง 90 นาที, แต่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่ 6 ได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.[note 3]
  • เปลี่ยนได้สูงสุด หนึ่ง การเปลี่ยนตัวที่มีผลกระทบ.

สถิติ[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. Bayern Munich also qualified for the 1974 and 1975 Intercontinental Cup, but declined to participate.[4]
  2. 2.0 2.1 Nicolás Gallo (Colombia) was originally appointed as the video assistant referee for the final, with Julio Bascuñán (ชิลี) serving as the assistant video assistant referee.[7] However, Gallo was later removed from the match, with Bascuñán changed to the video assistant referee, and Khamis Al-Marri (กาตาร์) appointed as the assistant video assistant referee.[2]
  3. Each team was given only three opportunities to make substitutions, with a fourth opportunity in extra time, excluding substitutions made at half-time, before the start of extra time and at half-time in extra time.

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Joshua Kimmich of FC Bayern Muenchen poses with the Alibaba Cloud Match Award after the FIFA Club World Cup Qatar 2020 Final between FC Bayern Muenchen and Tigres UANL at the Education City Stadium on February 11, 2021 in Doha, Qatar". Getty Images. 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "Start list – Final – FC Bayern München v Tigres UANL" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 February 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-11. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  3. "Match Facts: Final – FC Bayern München v Tigres UANL". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 February 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-12. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  4. Lawrence, Jeff (11 February 2015). "The decline, fall and rebirth of the Intercontinental Cup". These Football Times. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  5. "FIFA Council approves key organisational elements of the FIFA World Cup" (Press release). FIFA. 27 October 2017. สืบค้นเมื่อ 27 October 2017.[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 "Tactical Line-up – Final – FC Bayern München v Tigres UANL" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 February 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-11. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  7. Fédération Internationale de Football Association [@fifamedia] (10 February 2021). "Referee designations FCWC 2020 – Final" (ทวีต). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  8. "FIFA Club World Cup Qatar 2020 Regulations" (PDF).
  9. "FIFA to trial concussion substitutes at FIFA Club World Cup". FIFA. 8 January 2021. สืบค้นเมื่อ 1 February 2021.
  10. "Match report, half-time – Final – FC Bayern München v Tigres UANL" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 February 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-11. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  11. "Match report – Final – FC Bayern München v Tigres UANL" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 February 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-11. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ match report

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]