ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ยูเออี 2017
พรีเซนเท็ดบาย อาลีบาบา คลาวด์
كأس العالم للأندية لكرة القدم
الإمارات العربية المتحدة 2017
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
วันที่6–16 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ทีม7 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศบราซิล เกรมีอู
อันดับที่ 3เม็กซิโก ปาชูกา
อันดับที่ 4สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน8
จำนวนประตู18 (2.25 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม132,565 (16,571 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด

บราซิล โรมารินญู
บราซิล เมารีซีอู อังตูนีอู (คนละ 2 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมโครเอเชีย ลูคา โมดริช
รางวัลแฟร์เพลย์สเปน เรอัลมาดริด
2016
2018

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017 หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพยูเออี 2017 พรีเซนเท็ดบายอาลีบาบาคลาวด์ ตามชื่อของผู้สนับสนุน[1] เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ครั้งที่ 13 จัดขึ้นโดยฟีฟ่า ซึ่งจะมีทีมที่เป็นแชมป์ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของทวีปทั้ง 6 ทวีปมาแข่งขัน.[2] โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์.[3]

เรอัลมาดริด คือทีมแชมป์เก่าที่จะต้องมาป้องกันแชมป์รายการนี้. พวกเขาได้สิทธิ์สำหรับทัวร์นาเมนต์นี้ในฐานะทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17.

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

ขั้นตอนการคัดเลือกที่มีขึ้นสำหรับปี 2017–2018 รวมถึงครั้งเมื่อปี 2015–2016 เช่นการใช้ 2 ประเทศเจ้าภาพ ประเทศละ 2 ปี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[4] สมาชิกของฟีฟ่าที่สนใจจะเป็นเจ้าภาพสามารถยื่นข้อเสนอได้ตั้งแต่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2557 และส่งเอกสารในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557[5] โดยคณะกรรมการของฟีฟ่าจะคัดเลือกเจ้าภาพในการประชุมที่ประเทศโมร็อกโก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557[6] แต่การตัดสินใจขั้นสุดท้ายล่าช้ากว่ากำหนดจนกว่าการประชมุคณะกรรมการบริหารของฟีฟ่าในวันที่ 19–20 มีนาคม พ.ศ. 2558.[7]

โดยรายชื่อด้านล่างนี้คือประเทศที่สนใจในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรายการนี้:[8]

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการว่าได้เป็นเจ้าภาพของปี 2017 และทัวร์นาเมนต์ในปี 2018 ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558.[3]

สโมสรที่เข้าแข่งขัน[แก้]

ด้านล่างนี้คือเจ็ดทีมที่ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันทัวร์นาเมนต์นี้.[10]

สโมสร สมาพันธ์ฟุตบอล คุณสมบัติ วันที่เข้ารอบ การเข้าร่วม (ตัวหนา หมายถึงทีมชนะเลิศ)
เข้าสู่ใน รอบรองชนะเลิศ
บราซิล เกรมีอู คอนเมบอล สโมสรชนะเลิศ โกปาลีเบอร์ตาดอเรส ฤดูกาล 2017[11] 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 1
สเปน เรอัลมาดริด TH ยูฟ่า สโมสรชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17[12] 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560 4 (ครั้งที่ผ่านมา: 2000, 2014, 2016)
เข้าสู่ใน รอบก่อนรองชนะเลิศ
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ เอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017[13] 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 2 (ครั้งที่ผ่านมา: 2007)
โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา ซีเอเอฟ สโมสรชนะเลิศ ซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก 2017[14] 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 1
เม็กซิโก ปาชูกา คอนคาแคฟ สโมสรชนะเลิศ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก 2016–17[15] 26 เมษายน พ.ศ. 2560 4 (ครั้งที่ผ่านมา: 2007, 2008, 2010)
เข้าสู่ใน เพลย์ออฟสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ
นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี โอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017[16] 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 9 (ครั้งที่ผ่านมา: 2006, 2009, 2011, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา เอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ ยูเออีโปร-ลีก ฤดูกาล 2016–17[17] 11 กันยายน พ.ศ. 2560[A] 1
หมายเหตุ
  1. ^ อัล-จาซีรา ชนะ ยูเออีโปร-ลีก ฤดูกาล 2016–17 เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2560. การเข้าร่วมของพวกเขาในฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017 ได้รับการยืนยันอย่างเป็นทางการหลังจาก อัล-ไอน์ กลายเป็นทีมสุดท้ายจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ที่ตกรอบ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017.

สนามแข่งขัน[แก้]

สองสนามแข่งขันคือ ซาเหย็ด สปอร์ตส์ ซิตี สเตเดียม ใน อาบูดาบี และ ฮัซซา บิน ซาเหย็ด สเตเดียม ใน อัล ไอน์.[18]

อาบูดาบี อัลไอน์
ซาเหย็ด สปอร์ตส์ ซิตี สเตเดียม ฮัซซา บิน ซาเหย็ด สเตเดียม
24°24′57.92″N 54°27′12.93″E / 24.4160889°N 54.4535917°E / 24.4160889; 54.4535917 (Zayed Sports City Stadium) 24°14′44.14″N 55°42′59.7″E / 24.2455944°N 55.716583°E / 24.2455944; 55.716583 (Hazza bin Zayed Stadium)
ความจุ: 43,000 ความจุ: 22,717
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017 (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

ตารางการแข่งขัน[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560, 12:00 GST (UTC+4), ที่ อาบูดาบี เพื่อตัดสินการแข่งขันรอบรองชนะเลิศทั้งสองคู่, และทีมใดที่เป็นผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศทั้งสองคู่จะได้ลงเล่นในรอบรองชนะเลิศ.[19]

เพลย์ออฟ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
 6 ธันวาคม – อัล ไอน์                          
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา  1   9 ธันวาคม – อาบูดาบี        
 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี  0      สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา  1
13 ธันวาคม – อาบูดาบี
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์  0    
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา  1
     สเปน เรอัลมาดริด  2  
16 ธันวาคม – อาบูดาบี
 สเปน เรอัลมาดริด  1
9 ธันวาคม – อาบูดาบี
   บราซิล เกรมีอู  0
 เม็กซิโก ปาชูกา (a.e.t.)  1
12 ธันวาคม – อัล ไอน์
 โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา  0    
 บราซิล เกรมีอู (a.e.t.)  1
ชิงอันดับ 5 ชิงอันดับ 3
     เม็กซิโก ปาชูกา  0  
 โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา  2  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา  1
 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์  3  เม็กซิโก ปาชูกา  4
12 ธันวาคม – อัล ไอน์ 16 ธันวาคม – อาบูดาบี

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, GST (UTC+4).[20]

รอบเพลย์ออฟสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]


นัดชิงอันดับ 5[แก้]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


นัดชิงอันดับ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับดาวซัลโว[แก้]

หมายเหตุ: ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

อันดับ ชื่อ สโมสร ประตู
1 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด สเปน เรอัลมาดริด 2
บราซิล เมารีซีอู อังตูนีอู ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
บราซิล โรมารินญู สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
3 เวลส์ แกเร็ธ เบล สเปน เรอัลมาดริด 1
เม็กซิโก โรเบร์โต เด ลา โรซา เม็กซิโก ปาชูกา
บราซิล อีแวร์ตง บราซิล เกรมีอู
เม็กซิโก บิกตอร์ กุซมัน เม็กซิโก ปาชูกา
โมร็อกโก อิสมาอิล ฮัดดัด โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา
โมร็อกโก เรดา ฮัจฮูจ โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา
อาร์เจนตินา ฟรันโก คารา เม็กซิโก ปาชูกา
ญี่ปุ่น โยสุเกะ คะชิวะกิ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาลี มับคฮูต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คัลฟาน มูบารัค สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
ชิลี อันเจโล ซากัล เม็กซิโก ปาชูกา
อุรุกวัย โจนาธาน อูร์เรตาวิสกายา เม็กซิโก ปาชูกา

สรุปอันดับการแข่งขัน[แก้]

Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
1 สเปน เรอัลมาดริด (ยูฟ่า) 2 2 0 0 3 1 +2 6
2 บราซิล เกรมีอู (คอนเมบอล) 2 1 0 1 1 1 0 3
3 เม็กซิโก ปาชูกา (คอนคาแคฟ) 3 2 0 1 5 2 +3 6
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา (เอเอฟซี) (H) 4 2 0 2 4 6 −2 6
5 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ (เอเอฟซี) 2 1 0 1 3 3 0 3
6 โมร็อกโก วีดัด คาซาบลังกา (ซีเอเอฟ) 2 0 0 2 2 4 −2 0
7 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี (โอเอฟซี) 1 0 0 1 0 1 −1 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

รางวัล[แก้]

อาดิดาส
ลูกบอลทองคำ
อาดิดาส
ลูกบอลเงิน
อาดิดาส
ลูกบอลทองแดง
โครเอเชีย ลูคา โมดริช
(เรอัลมาดริด)
โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(เรอัลมาดริด)
อุรุกวัย โจนาธาน อูร์เรตาวิสกายา
(ปาชูกา)
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
สเปน เรอัลมาดริด

อ้างอิง[แก้]

  1. "Alibaba E-Auto signs as Presenting Partner of the FIFA Club World Cup". FIFA.com. 9 ธันวาคม พ.ศ. 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "FIFA Club World Cup 2017 UAE: Regulations" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-15. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  3. 3.0 3.1 "2022 FIFA World Cup to be played in November/December". FIFA.com. 21 มีนาคม พ.ศ. 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-10. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "Blatter: A legacy for the future". FIFA.com. 19 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  5. "Bidding process opened for eight FIFA competitions". FIFA.com. 19 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-14. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  6. "India may get to host FIFA Club World Cup". India.com. 15 October 2014.
  7. "FIFA Executive committee meeting agenda now available". FIFA. 11 มีนาคม พ.ศ. 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-02. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. "High interest in hosting FIFA competitions". FIFA.com. 9 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-31. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  9. "We are bidding for Club World Cup: AIFF president". The Times of India. 20 December 2014. สืบค้นเมื่อ 21 December 2014.
  10. "The Road to UAE 2017". FIFA.com. 11 เมษายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  11. "Gremio set for world stage after ending continental drought". FIFA.com. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-30. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  12. "Real crowned kings of Europe, book Club World Cup place". FIFA.com. 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-16. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  13. "Urawa clinch ticket to UAE". FIFA.com. 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-01. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  14. "Wydad crowned African champions". FIFA.com. 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-12. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  15. "CONCACAF kings Pachuca book UAE spot". FIFA.com. 27 เมษายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-14. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  16. "Auckland crowned Oceania kings again". FIFA.com. 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-27. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  17. "Al Jazira to represent UAE at Club World Cup". FIFA.com. 29 เมษายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  18. "Official Emblem unveiled as UAE prepares for kick-off". FIFA.com. 11 เมษายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-20. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  19. "Draw lays out path to Club World Cup glory". FIFA.com. 9 October 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-13. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  20. "Match Schedule – FIFA Club World Cup UAE 2017" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-15. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  21. "Match report, Real Madrid CF - Grêmio FBPA 1:0 (0:0)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 ธันวาคม พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-17. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]