ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018 นัดชิงชนะเลิศ
สนามกีฬาซาเหย็ด สปอร์ตส์ ซิตี ในอาบูดาบีจะเป็นสนามที่ใช้ในนัดชิงชนะเลิศ.
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018
วันที่22 ธันวาคม พ.ศ. 2561
สนามสนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี, อาบูดาบี
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
มาร์โกส โยเรนเต (เรอัลมาดริด)[1]
ผู้ตัดสินแจร์ มาร์รูโฟ (สหรัฐ)[2]
ผู้ชม40,696 คน[1]
สภาพอากาศกลางคืนท้องฟ้าสดใส
22 °C (72 °F)
65% ความชื้นสัมพัทธ์[2]
2017
2019

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลที่เป็นเจ้าภาพโดย ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 15 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ทัวร์นาเมนต์ที่มีการจัดขึ้นโดยฟีฟ่าระหว่างสโมสรที่เป็นผู้ชนะจากแต่ละทีมแต่ละสมาพันธ์จากหกทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกจากชาติเจ้าภาพ.

รอบชิงชนะเลิศเป็นการตัดสินกันระหว่าง สโมสรจากสเปน เรอัลมาดริด, เป็นตัวแทนของ ยูฟ่า ในฐานะครองแชมป์ของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และสโมสรจากยูเออี อัล-ไอน์, เป็นตัวแทนเจ้าภาพในฐานะทีมชนะเลิศของ ยูเออี โปร-ลีก.[3] จะลงเล่นที่ ซาเหย็ด สปอร์ตส์ ซิตี สเตเดียม ในเมือง อาบูดาบี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2561.[4]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

สเปน เรอัลมาดริด ทีม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ไอน์
คู่แข่งขัน ผล ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018 คู่แข่งขัน ผล
บาย รอบแรก นิวซีแลนด์ ทีม เวลลิงตัน 3–3
(ต่อเวลา) (4–3 p)
รอบสอง ตูนิเซีย เอสเปรันเซ เด ตูนิส 3–0
ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 3–1 รอบรองชนะเลิศ อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต 2–2
(ต่อเวลา) (5–4 p)

นัด[แก้]

รายละเอียด[แก้]

เรอัลมาดริด[5]
อัล-ไอน์[5]
GK 25 เบลเยียม ตีโบ กูร์ตัว
RB 2 สเปน ดานิ การ์บาฆัล
CB 5 ฝรั่งเศส ราฟาแอล วาราน
CB 4 สเปน เซร์ฆิโอ ราโมส (กัปตัน) โดนใบเหลือง ใน 45 นาที 45'
LB 12 บราซิล มาร์เซลู
CM 10 โครเอเชีย ลูคา โมดริช
CM 18 สเปน มาร์โกส โยเรนเต Substituted off in the 82 นาที 82'
CM 8 เยอรมนี โทนี โครส Substituted off in the 70 นาที 70'
RF 17 สเปน ลูกัส บัซเกซ Substituted off in the 84 นาที 84'
CF 9 ฝรั่งเศส การีม แบนเซมา
LF 11 เวลส์ แกเร็ธ เบล
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 คอสตาริกา เกย์ลอร์ นาบัส
GK 13 สเปน กีโก กาซิยา
DF 3 สเปน เฆซุส กาเยโฆ
DF 6 สเปน นาโช
DF 19 สเปน อัลบาโร โอดริโอโซลา
DF 23 สเปน เซร์ฆิโอ เรกียอน
MF 14 บราซิล กาเซมีรู Substituted on in the 82 minute 82'
MF 15 อุรุกวัย เฟเดริโก บัลเบร์เด
MF 20 สเปน มาร์โก อาเซนซีโอ
MF 22 สเปน อิสโก
MF 24 สเปน ดานิ เซบาโยส Substituted on in the 70 minute 70'
FW 28 บราซิล วินิซิอุส ฌูนิโอร์ Substituted on in the 84 minute 84'
ผู้จัดการทีม:
อาร์เจนตินา ซานเตียโก โซลาริ
GK 17 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คาลิด เออิซา
RB 23 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮาเหม็ด อาห์เหม็ด Substituted off in the 64 นาที 64'
CB 5 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิสมาอิล อาห์เหม็ด (กัปตัน)
CB 14 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮัมเหม็ด ฟาเยซ
LB 33 ญี่ปุ่น ซึกะซะ ชิโอะตะนิ
CM 43 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รายาน ยาสลาม
CM 16 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮาเหม็ด อับดุลระห์มัน Substituted off in the 67 นาที 67'
CM 3 มาลี ตอนโก ดูมเบีย
RW 74 อียิปต์ ฮุสเซอิน เอล ชาฮัต
LW 7 บราซิล ไกอู
CF 9 สวีเดน มาร์คุส แบร์ย Substituted off in the 75 นาที 75'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮัมเหม็ด บูซันดา
GK 12 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ฮาหมัด อัล-มันซูรี
DF 19 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮาหนัด ซาเล็ม
DF 44 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอีด จูมาอา
MF 6 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเมอร์ อับดุลระห์มัน Substituted on in the 67 minute 67'
MF 11 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บันดาร์ อัล-อาห์บาบี Substituted on in the 64 minute 64'
MF 13 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาห์เหม็ด บาร์มัน
MF 18 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิบราฮิม ดิอากี
MF 28 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซูไลมัน นัสเซอร์
MF 30 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมฮัมเหม็ด คัลฟาน
MF 88 อียิปต์ ยาห์ยา นาเดอร์ Substituted on in the 75 minute 75'
FW 99 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จามาล อิบราฮิม
ผู้จัดการทีม:
โครเอเชีย ซอรัน มามิช

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
มาร์โกส ยอเรนเต (เรอัลมาดริด)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Frank Anderson (สหรัฐ)
Corey Rockwell (สหรัฐ)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Wilton Sampaio (บราซิล)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Zakhele Siwela (แอฟริกาใต้)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Danny Makkelie (เนเธอร์แลนด์)
Assistant video assistant referee:
Mark Geiger (สหรัฐ)
Bruno Boschilia (บราซิล)
Mauro Vigliano (อาร์เจนตินา)

ข้อมูลในการแข่งขัน[6]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 3 คนในช่วง 90 นาที, แต่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่สี่ได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

สถิติ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Match report, Final, Real Madrid CF – Al Ain FC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Start list, Final, Real Madrid CF – Al Ain FC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.
  3. "Abu Dhabi set for another final showpiece". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 ธันวาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  4. "Match Schedule: FIFA Club World Cup UAE 2018" (PDF). Fédération Internationale de Football Association. December 2018. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. 5.0 5.1 "Tactical Line-up, Final, Real Madrid CF – Al Ain FC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.
  6. "FIFA Club World Cup UAE 2018 Regulations" (PDF). Fédération Internationale de Football Association. June 2018. สืบค้นเมื่อ 19 December 2018.
  7. "Match report, Half-time, Real Madrid CF – Al Ain FC 1:0" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]