ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2000

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
FIFA Club World Championship 2000
Campeonato Mundial de Clubes da FIFA
Brasil 2000
Poster depicting a multicolored ball in a blue background. The lower half contains writing in a heavily stylised font: "FIFA Club World Championship 2000 Brazil".
2000 FIFA Club World Championship
สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ[1]
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพบราซิล
วันที่5–14 มกราคม
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศบราซิล โกริงชังส์ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศบราซิล Vasco da Gama
อันดับที่ 3เม็กซิโก Necaxa
อันดับที่ 4สเปน เรอัลมาดริด
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน14
จำนวนประตู43 (3.07 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม514,000 (36,714 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโรมารีอู (วาสโก ดา กามา)
นีกอลา อาแนลกา (เรอัลมาดริด)
3 goals each
ผู้เล่นยอดเยี่ยมEdílson (โกริงชังส์)
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมDida (โกริงชังส์)
รางวัลแฟร์เพลย์ซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์
2001

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2543 หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป 2000 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกภายการรับรับของฟีฟ่าเป็นครั้งแรก ทำการแข่งขันกันระหว่างวันที่ 5-14 ม.ค. ที่ประเทศบราซิล การแข่งขันครั้งนี้มีทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน 8 ทีม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมดในกลุ่ม จากนั้นเอาทีมอันดับที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม มาแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ ขณะที่ทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่ม จะมาแข่งในนัดชิงอันดับที่ 3 โดยทีมที่ได้แชมป์รายการนี้เป็นทีมแรกคือ คอรินเทียนส์ จากบราซิล

ทีมที่เข้าร่วม[แก้]

ทีม จาก เข้าร่วมในฐานะ
ซาอุดีอาระเบีย อัลนาสร์ ริยาด เอเอฟซี ชนะเลิศเอเชียนซูเปอร์คัพ 1998
บราซิล คอรินเทียนส์ ซีบีเอฟ ชนะเลิศแซรียีอา 1998
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ยูฟ่า ชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 1998-99
เม็กซิโก เนกาซา คอนคาเคฟ ชนะเลิศคอนคาเคฟแชมเปียนส์คัพ 1999
โมร็อกโก รายา คาซาบลังกา ซีเอเอฟ ชนะเลิศซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก 1999
สเปน เรอัลมาดริด ยูฟ่า ชนะเลิศอินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ 1998
ออสเตรเลีย เซาธ์ เมลเบิร์น โอเอฟซี ชนะเลิศโอเชียเนียคลับแชมเปียนชิป 1999
บราซิล วัชกู ดา กามา คอนเมบอล ชนะเลิศโกปาลิเบร์ตาโดเรส 1998

ผลการแข่งขัน[แก้]

  • ตารางการแข่งขัน
    • รอบแบ่งกลุ่ม
      • กลุ่ม เอ
ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง แต้ม
บราซิล คอรินเทียนส์ 3 2 1 0 6 2 +4 7
สเปน เรอัลมาดริด 3 2 1 0 8 5 +3 7
ซาอุดีอาระเบีย อัลนาสร์ ริยาด 3 1 0 2 5 8 −3 3
โมร็อกโก รายา คาซาบลังกา 3 0 0 3 5 9 −4 0
      • กลุ่ม บี
ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง แต้ม
บราซิล วัชกู ดา กามา 3 3 0 0 7 2 +5 9
เม็กซิโก เนกาซา 3 1 1 1 5 4 +1 4
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 3 1 1 1 4 4 0 4
ออสเตรเลีย เซาธ์ เมลเบิร์น 3 0 0 3 1 7 −6 0
    • รอบสอง
      • นัดชิงอันดับที่ 3
    จุดโทษ  
เอโต้ Goal
อีบัน เอลเกร่า Goal
แม็คมานามาน X
มอริเอนเตส Goal
โดราโด้ X
3 - 4 Goal แซร์โจ้ วาสเกวซ
X คาเบรร่า
Goal หลุยส์ เปเรซ
Goal อกีนาก้า
Goal อกุสติน เดลกาโด้
 
      • นัดชิงชนะเลิศ
    จุดโทษ  
โรมาริโอ้ Goal
อเล็กซ์ โอลิไวร่า Goal
กิลแบร์โต้ X
วิโอล่า Goal
เอ๊ดมุนโด้ X
3 - 4 Goal รินคอน
Goal เฟอร์นันโด้ บายาโน่
Goal ลุยเซา
Goal เอดู
X มาร์เซลินโญ่
 


ชนะเลิศ ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป 2000
บราซิล
คอรินเทียนส์
  • ดาวยิงสูงสุด

3 ประตู

รางวัล[แก้]

โกลเด้น บอล ซิลเวอร์ บอล บรอนซ์ บอล
บราซิล เอดิลสัน
(คอรินเทียนส์)
บราซิล เอ๊ดมุนโด้
(วัชกู ดา กามา)
บราซิล โรมาริโอ้
(วัชกู ดา กามา)
แฟร์ส เพลย์ ซาอุดีอาระเบีย อัลนาสร์ ริยาด

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  1. Programa Oficial- Official Program