ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012
presented by Toyota
Toyota プレゼンツ
FIFAクラブワールドカップ ジャパン2012
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่6–16 ธันวาคม
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศบราซิล คอรินเทียนส์ (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศอังกฤษ เชลซี
อันดับที่ 3เม็กซิโก มอนเตอเรย์
อันดับที่ 4อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน8
จำนวนประตู21 (2.63 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม283,063 (35,383 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอาร์เจนตินา César Delgado
ญี่ปุ่น Hisato Satō
(3 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล Cássio
รางวัลแฟร์เพลย์เม็กซิโก Monterrey
2011
2013

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012 หรือ ฟีฟ่า คลับ เวิลด์ คัพ 2012 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของรายการนี้ แข่งขันกันระหว่างวันที่ 6-16 ธ.ค. ที่ประเทศญี่ปุ่น

ทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]

ทีม จาก เข้าร่วมในฐานะ
เข้ารอบรองชนะเลิศอัตโนมัติ
อังกฤษ เชลซี ยูฟ่า ชนะเลิศยูฟ่า แชมเปียนส์ ลีก 2011/12
บราซิล โครินเธี่ยนส์ คอนเมโบล ชนะเลิศโคปา ลิเบอร์ตาดอเรส 2012
เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศอัตโนมัติ
เกาหลีใต้ อุลซาน ฮุนได เอเอฟซี ชนะเลิศเอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก 2012
เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ คอนคาเคฟ ชนะเลิศคอนคาเคฟ แชมเปียนส์ ลีก 2011/12
อียิปต์ อัลอะฮ์ลี ซีเอเอฟ ชนะเลิศซีเอเอฟ แชมเปียนส์ ลีก 2012
รอบคัดเลือก
นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ซิตี โอเอฟซี ชนะเลิศโอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก 2011/12
ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ เจ้าภาพ ชนะเลิศเจลีก 2011/12
  • ตารางการแข่งขัน
เพลย์ออฟ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
 6 ธันวาคม - โยะโกะฮะมะ                          
 ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ  1   9 ธันวาคม - เมืองโตโยต้า        
 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ซิตี  0      ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ  1
12 ธันวาคม - เมืองโตโยต้า
   อียิปต์ อัลอะฮ์ลี  2    
 อียิปต์ อัลอะฮ์ลี  0
     บราซิล โครินเธี่ยนส์  1  
16 ธันวาคม - โยะโกะฮะมะ
 บราซิล โครินเธี่ยนส์  1
9 ธันวาคม - เมืองโตโยต้า
   อังกฤษ เชลซี  0
 เกาหลีใต้ อูลซาน ฮุนได  1
13 ธันวาคม - โยะโกะฮะมะ
 เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์  3    
 เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์  1
ชิงอันดับสาม
     อังกฤษ เชลซี  3  
 อียิปต์ อัลอะฮ์ลี  0
 เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์  2
16 ธันวาคม - โยะโกะฮะมะ

โปรแกรมการแข่งขัน[แก้]

รอบเพลย์ออฟ[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงอันดับที่ 5[แก้]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับดาวซัลโว[แก้]

อันดับ ผู้ทำประตู สโมสร ประตู
1 อาร์เจนตินา เซซาร์ เดลกาโด เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ 3
ญี่ปุ่น ฮิซาโตะ ซาโตะ ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 3
3 เปรู เปาโล เกอร์เรโร่ บราซิล โครินเธี่ยนส์ 2
เม็กซิโก เฆซุส มานูเอล โคโรน่า เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ 2
5 อียิปต์ โมฮาเหม็ด อาบูทริก้า อียิปต์ อัลอะฮ์ลี 1
อียิปต์ อัล-ซาเยด ฮัมดี อียิปต์ อัลอะฮ์ลี 1
สเปน ควน มาตา อังกฤษ เชลซี 1
สเปน เฟร์นานโด ตอร์เรส อังกฤษ เชลซี 1
เม็กซิโก อัลโด เดอ นิกริส เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ 1
ญี่ปุ่น โทชิฮิโระ อาโอยะมะ ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 1
ญี่ปุ่น ซาโตรุ ยามากิชิ ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 1
เกาหลีใต้ ลี คึน-โฮ เกาหลีใต้ อูลซาน ฮุนได 1
เกาหลีใต้ ลี ยอง เกาหลีใต้ อูลซาน ฮุนได 1
ทำเข้าประตูตัวเอง

รางวัล[แก้]

โกลเด้น บอล ซิลเวอร์ บอล บรอนซ์ บอล
บราซิล คาสสิโอ
(โครินเธี่ยนส์)
บราซิล ดาวิด ลุยซ์
(เชลซี)
เปรู เปาโล เกอร์เรโร
(โครินเธี่ยนส์)
แฟร์ เพลย์ เม็กซิโก มอนเตอร์เรย์


แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]