ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Intercontinental Cup (football))

อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรป/อเมริกาใต้
โตโยต้าคัพ
ถ้วยรางวัลที่มอบให้กับผู้ชนะ
ผู้จัดยูฟ่าและคอนเมบอล
ก่อตั้งค.ศ. 1960
ยกเลิกค.ศ. 2004
ภูมิภาคยุโรป
อเมริกาใต้
จำนวนทีม2
ทีมชนะเลิศล่าสุดโปรตุเกส โปร์ตู
(2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดอุรุกวัย เปญญาโรล
อุรุกวัย นาซิโอนัล
อิตาลี เอซี มิลาน
สเปน เรอัลมาดริด
อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส

(3 สมัย)

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้ (อังกฤษ: European/South American Cup) หรือ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ (Intercontinental Cup)[1][2][3] ได้เริ่มแข่งขันกันเมื่อปี ค.ศ. 1960 เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลที่จัดขึ้นโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) โดยจะเป็นการพบกันระหว่างทีมแชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากทวีปยุโรป กับทีมแชมป์โกปาลิเบร์ตาโดเรสจากทวีปอเมริกาใต้ ในช่วงแรกปี ค.ศ. 1960-1979 ระบบการแข่งขันของรายการนี้จะเป็นแบบ 2 นัด เหย้า-เยือน (ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1968 จะตัดสินด้วยคะแนนจากการพบกันสองนัด ตามแบบที่คอนเมบอลใช้กันถึงปี ค.ศ. 1987 จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969-1979 จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีการรวมผลสกอร์ 2 นัด ด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือนแบบยุโรปแทน) จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980-2004 ได้เปลี่ยนมาเป็นการแข่งขันแบบนัดเดียวที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีสปอนเซอร์สนับสนุนหลักคือ โตโยต้า คนส่วนใหญ่จึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อการแข่งขันรายการนี้ว่า โตโยต้าคัพ ต่อมาในปี ค.ศ. 2005 อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพได้ถูกแทนที่โดยฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ

หมายเหตุ
การแข่งขันชนะในช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ
การแข่งขันชนะในช่วงการดวลลูกโทษ
การแข่งขันแบบเพลย์ออฟที่ทีมถูกผูกคะแนน (1 ชนะ และ 1 แพ้แต่ละครั้ง)
# ยุโรป ทีมตัวแทนแข่งขันแทนที่แชมป์ยุโรป
ปี ประเทศ ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ ประเทศ สนาม เมือง อ้างอิง
1960  สเปน เรอัลมาดริด 0–0 เปญญาโรล  อุรุกวัย เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย [4]
5–1 ซานเตียโก เบร์นาเบว มาดริด, สเปน
1961  อุรุกวัย เปญญาโรล 0–1 ไบฟีกา  โปรตุเกส อิชตาดีอูดาลุช ลิสบอน, โปรตุเกส [5]
5–0 เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
2–1 มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1962  บราซิล ซังตุส 3–2 ไบฟีกา  โปรตุเกส มารากานัง รีโอเดจาเนโร, บราซิล [6]
5–2 อิชตาดีอูดาลุช ลิสบอน, โปรตุเกส
1963  บราซิล ซังตุส 2–4 เอซี มิลาน  อิตาลี ซานซีโร มิลาน, อิตาลี [7]
4–2 มารากานัง รีโอเดจาเนโร, บราซิล
1–0
1964  อิตาลี อินเตอร์มิลาน 0–1 อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินา ลาโดเบลบิเซรา อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา [8]
2–0 ซานซีโร มิลาน, อิตาลี
1–0
(ต่อเวลา)
ซานเตียโก เบร์นาเบว มาดริด, สเปน
1965  อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3–0 อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินา ซานซีโร มิลาน, อิตาลี [9]
0–0 ลาโดเบลบิเซรา อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา
1966  อุรุกวัย เปญญาโรล 2–0 เรอัลมาดริด  สเปน เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย [10]
2–0 ซานเตียโก เบร์นาเบว มาดริด, สเปน
1967  อาร์เจนตินา ราซินกลุบ 0–1 เซลติก  สกอตแลนด์ แฮมป์เดินพาร์ก กลาสโกว์, สกอตแลนด์ [11]
2–1 เอลซิลินโดร อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา
1–0 เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1968  อาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส 1–0 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด  อังกฤษ ลาบอมโบเนรา บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา [12]
1–1 โอลด์แทรฟฟอร์ด แมนเชสเตอร์, อังกฤษ
1969  อิตาลี เอซี มิลาน 3–0 เอสตูเดียนเตส  อาร์เจนตินา ซานซีโร มิลาน, อิตาลี [13]
1–2 ลาบอมโบเนรา บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา
1970  เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 2–2 เอสตูเดียนเตส  อาร์เจนตินา ลาบอมโบเนรา บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา [14]
1–0 เดอเกยป์ ร็อตเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
1971  อุรุกวัย นาซิโอนัล 1–1 ปานาซีไนโกส#1  กรีซ กาไรสกากิส ไพรีอัส, กรีซ [15]
2–1  กรีซ เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1972  เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 1–1 อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินา ลาโดเบลบิเซรา อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา [16]
3–0 โอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม) อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
1973  อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต 1–0 ยูเวนตุส#2  อิตาลี สตาดีโอโอลิมปีโก โรม, อิตาลี [17]
ไม่มีการแข่งขันนัดที่สอง อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต เป็นทีมชนะเลิศ
1974  สเปน อัตเลติโกเดมาดริด#3 0–1 อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินา ลาโดเบลบิเซรา อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา [18]
2–0 บิเซนเต กัลเดรอน มาดริด, สเปน
1975
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก และ อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต ไม่มีวันเวลากำหนดการแข่งขันที่พบกันได้
[19]
1976  เยอรมนีตะวันตก ไบเอิร์นมิวนิก 2–0 กรูเซย์รู  บราซิล โอลึมพีอาชตาดีอ็อน มิวนิก, เยอรมนีตะวันตก [20]
0–0 มีเนย์เรา เบโลโอรีซอนชี, บราซิล
1977  อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส 2–2 โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค#4  เยอรมนีตะวันตก ลาบอมโบเนรา บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา [21]
3–0 วิลท์พาร์คชตาดีอ็อน คาลส์รูเออ, เยอรมนีตะวันตก
1978
อังกฤษ ลิเวอร์พูล และ อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส ปฏิเสธที่จะแข่งขันกัน
[19]
1979  ปารากวัย โอลิมเปีย 1–0 มัลเมอ เอฟเอฟ#5  สวีเดน มัลเมอ มัลเมอ, สวีเดน [22]
2–1 เดเฟนโซเรสเดลชาโก อาซุนซีออน, ปารากวัย
1980  อุรุกวัย นาซิโอนัล 1–0 นอตทิงแฮมฟอเรสต์  อังกฤษ โอลิมปิก (โตเกียว) โตเกียว, ญี่ปุ่น [23]
1981  บราซิล ฟลาเม็งกู 3–0 ลิเวอร์พูล [24]
1982  อุรุกวัย เปญญาโรล 2–0 แอสตันวิลลา [25]
1983  บราซิล เกรมียู 2–1
(ต่อเวลา)
ฮัมบวร์ค  เยอรมนีตะวันตก [26]
1984  อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต 1–0 ลิเวอร์พูล  อังกฤษ [27]
1985  อิตาลี ยูเวนตุส 2–2
(ต่อเวลา)
4–2
(ลูกโทษ)
อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส  อาร์เจนตินา [28]
1986  อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต 1–0 เรดสตาร์ เบลเกรด  โรมาเนีย [29]
1987  โปรตุเกส โปร์ตู 2–1
(ต่อเวลา)
เปญญาโรล  อุรุกวัย [30]
1988  อุรุกวัย นาซิโอนัล 2–2
(ต่อเวลา)
7–6
(ลูกโทษ)
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน  เนเธอร์แลนด์ [31]
1989  อิตาลี เอซี มิลาน 1–0
(ต่อเวลา)
อัตเลติโกนาซิโอนัล  โคลอมเบีย [32]
1990  อิตาลี 3–0 โอลิมเปีย  ปารากวัย [33]
1991  ยูโกสลาเวีย เรดสตาร์ เบลเกรด 3–0 โกโล-โกโล  ชิลี [34]
1992  บราซิล เซาเปาลู 2–1 บาร์เซโลนา  สเปน [35]
1993  บราซิล เซาเปาลู 3–2 เอซี มิลาน#6  อิตาลี [36]
1994  อาร์เจนตินา เบเลซ ซาร์สฟิลด์ 2–0 เอซี มิลาน [37]
1995  เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 0–0
(ต่อเวลา)
4–3
(ลูกโทษ)
อาแลเกร็งซี  บราซิล [38]
1996  อิตาลี ยูเวนตุส 1–0 ริเบร์เปลต  อาร์เจนตินา [39]
1997  เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–0 กรูเซย์รู  บราซิล [40]
1998  สเปน เรอัลมาดริด 2–1 วัชกู ดา กามา [41]
1999  อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1–0 ปัลเมย์รัส [42]
2000  อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส 2–1 เรอัลมาดริด  สเปน [43]
2001  เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1–0
(ต่อเวลา)
โบกายูนิออร์ส  อาร์เจนตินา [44]
2002  สเปน เรอัลมาดริด 2–0 โอลิมเปีย  ปารากวัย อินเตอร์เนชันแนลสเตเดียม โยโกฮามะ, ญี่ปุ่น [45]
2003  อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส 1–1
(ต่อเวลา)
3–1
(ลูกโทษ)
เอซี มิลาน  อิตาลี [46]
2004  โปรตุเกส โปร์ตู 0–0
(ต่อเวลา)
8–7
(ลูกโทษ)
ออนเซกัลดัส  โคลอมเบีย [47]

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
อิตาลี เอซี มิลาน
3
4
1969, 1989, 1990 1963, 1993, 1994, 2003
อุรุกวัย เปญญาโรล
3
2
1961, 1966, 1982 1960, 1987
สเปน เรอัลมาดริด
3
2
1960, 1998, 2002 1966, 2000
อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส
3
1
1977, 2000, 2003 2001
อุรุกวัย นาซิโอนัล
3
1971, 1980, 1988
อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต
2
4
1973, 1984 1964, 1965, 1972, 1974
อิตาลี ยูเวนตุส
2
1
1985, 1996 1973
บราซิล ซังตุส
2
1962, 1963
อิตาลี อินเตอร์มิลาน
2
1964, 1965
บราซิล เซาเปาลู
2
1992, 1993
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์
2
1972, 1995
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก
2
1976, 2001
โปรตุเกส โปร์ตู
2
1987, 2004
อาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส
1
2
1968 1969, 1970
ปารากวัย โอลิมเปีย
1
2
1979 1990, 2002
บราซิล อาแลเกร็งซี
1
1
1983 1995
อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต
1
1
1986 1996
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1
1
1999 1968
อาร์เจนตินา ราซินกลุบ
1
1967
เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด
1
1970
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด
1
1974
บราซิล ฟลาเม็งกู
1
1981
เซอร์เบีย เรดสตาร์ เบลเกรด
1
1991
อาร์เจนตินา เบเลซ ซาร์สฟิลด์
1
1994
เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
1
1997
โปรตุเกส ไบฟีกา
2
1961, 1962
อังกฤษ ลิเวอร์พูล
2
1981, 1984
บราซิล กรูเซย์รู
2
1976, 1997
สกอตแลนด์ เซลติก
1
1967
กรีซ ปานาซีไนโกส
1
1971
เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
1
1977
สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ
1
1979
อังกฤษ นอตทิงแฮมฟอเรสต์
1
1980
อังกฤษ แอสตันวิลลา
1
1982
เยอรมนี ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา
1
1983
อาร์เจนตินา อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส
1
1985
โรมาเนีย สเตอัวบูคูเรสตี
1
1986
เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน
1
1988
โคลอมเบีย อัตเลติโกนาซิโอนัล
1
1989
ชิลี โกโล-โกโล
1
1991
สเปน บาร์เซโลนา
1
1992
บราซิล วัชกู ดา กามา
1
1998
บราซิล ปัลเมย์รัส
1
1999
โคลอมเบีย ออนเซกัลดัส
1
2004

ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)

ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
9
9
โบกายูนิออร์ส, อินเดเปนดิเอนเต, เอสตูเดียนเตส, ริเบร์เปลต, ราซินกลุบ, เบเลซ ซาร์สฟิลด์ 1967, 1968, 1973, 1977, 1984, 1986, 1994, 2000, 2003
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
7
5
เอซี มิลาน, ยูเวนตุส, อินเตอร์มิลาน 1964, 1965, 1969, 1985, 1989, 1990, 1996
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
6
5
ซังตุส, เซาเปาลู, อาแลเกร็งซี, ฟลาเม็งกู 1962, 1963, 1981, 1983, 1992, 1993
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย
6
2
เปญญาโรล, นาซิโอนัล 1961, 1966, 1971, 1980, 1982, 1988
ธงของประเทศสเปน สเปน
4
3
เรอัลมาดริด, อัตเลติโกเดมาดริด 1960, 1974, 1998, 2002
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
3
2
ไบเอิร์นมิวนิก, โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 1976, 1997, 2001
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
3
1
อายักซ์, ไฟเยอโนร์ด 1970, 1972, 1995
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
2
2
โปร์ตู 1987, 2004
 อังกฤษ
1
5
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1999
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
1
2
โอลิมเปีย 1979
ยูโกสลาเวีย
1
เรดสตาร์ เบลเกรด 1991
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
2
 สกอตแลนด์
1
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
1
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
1
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย
1
ธงของประเทศชิลี ชิลี
1

อ้างอิง

  1. "Legend – UEFA club competition" (PDF). Union des Associations Européennes de Football. 2009. p. 99. สืบค้นเมื่อ 23 August 2014.
  2. "Competencias oficiales de la CONMEBOL". Confederación Sudamericana de Fútbol (ภาษาสเปน). 2011. pp. 99, 107. สืบค้นเมื่อ 23 August 2014.
  3. - The winners of UEFA Champions League undertake to part in the following competitions: a) The UEFA Super cup, which is held at the start of each new season. b) Intercontinental competitions arranged by UEFA and other confederations. – Clubs are not authorised to represent UEFA or the UEFA Champions League without UEFA's prior written approval. cfr. "We care about football – Regulation of the UEFA Champions League 2003/04" (PDF). Union of European Football Associations. p. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-08-16. สืบค้นเมื่อ 2019-10-10.
  4. "Intercontinental Club Cup 1960".
  5. "Intercontinental Club Cup 1961".
  6. "Intercontinental Club Cup 1962".
  7. "Intercontinental Club Cup 1963".
  8. "Intercontinental Club Cup 1964".
  9. "Intercontinental Club Cup 1965".
  10. "Intercontinental Club Cup 1966".
  11. "Intercontinental Club Cup 1967".
  12. "Intercontinental Club Cup 1968".
  13. "Intercontinental Club Cup 1969".
  14. "Intercontinental Club Cup 1970".
  15. "Intercontinental Club Cup 1971".
  16. "Intercontinental Club Cup 1972".
  17. "Intercontinental Club Cup 1973".
  18. "Intercontinental Club Cup 1974".
  19. 19.0 19.1 "Intercontinental Club Cup".
  20. "Intercontinental Club Cup 1976".
  21. "Intercontinental Club Cup 1977".
  22. "Intercontinental Club Cup 1979".
  23. "Intercontinental Club Cup 1980".
  24. "Intercontinental Club Cup 1981".
  25. "Intercontinental Club Cup 1982".
  26. "Intercontinental Club Cup 1983".
  27. "Intercontinental Club Cup 1984".
  28. "Intercontinental Club Cup 1985".
  29. "Intercontinental Club Cup 1986".
  30. "Intercontinental Club Cup 1987".
  31. "Intercontinental Club Cup 1988".
  32. "Intercontinental Club Cup 1989".
  33. "Intercontinental Club Cup 1990".
  34. "Intercontinental Club Cup 1991".
  35. "Intercontinental Club Cup 1992".
  36. "Intercontinental Club Cup 1993".
  37. "Intercontinental Club Cup 1994".
  38. "Intercontinental Club Cup 1995".
  39. "Intercontinental Club Cup 1996".
  40. "Intercontinental Club Cup 1997".
  41. "Intercontinental Club Cup 1998".
  42. "Intercontinental Club Cup 1999".
  43. "Intercontinental Club Cup 2000".
  44. "Intercontinental Club Cup 2001".
  45. "Intercontinental Club Cup 2002".
  46. "Intercontinental Club Cup 2003".
  47. "Intercontinental Club Cup 2004".

แหล่งข้อมูลอื่น