ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก กาตาร์ 2019
พริเซ็นทิดบายอาลีบาบาคลาวด์
كأس العالم للأندية لكرة القدم
الإمارات العربية المتحدة 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์
เมืองโดฮา
วันที่11–21 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศอังกฤษ ลิเวอร์พูล (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศบราซิล ฟลาเม็งกู
อันดับที่ 3เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
อันดับที่ 4ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน8
จำนวนประตู30 (3.75 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม166,426 (20,803 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแอลจีเรีย Baghdad Bounedjah
ลิเบีย Hamdou Elhouni
(คนละ 3 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์
รางวัลแฟร์เพลย์ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส
2018
2020

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัปกาตาร์ 2019 พริเซ็นทิดบายอาลีบาบาคลาวด์ ตามชื่อของผู้สนับสนุน[1] เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยฟีฟ่า ซึ่งจะมีทีมที่เป็นแชมป์ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของทวีปทั้ง 6 ทวีปมาแข่งขัน เช่นเดียวกับทีมแชมป์ลีกจากประเทศเจ้าภาพ โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศกาตาร์ ระหว่างวันที่ 11 และ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ในสนามแข่งขันสามแห่งในกรุงโดฮา[2]

สโมสรที่เข้าแข่งขัน[แก้]

ด้านล่างนี้คือทีมเจ็ดทีมที่ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันรายการนี้

สโมสร สมาพันธ์ฟุตบอล คุณสมบัติ วันที่เข้ารอบ การเข้าร่วม (ตัวหนา หมายถึงทีมชนะเลิศ)
เข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
บราซิล ฟลาเม็งกู คอนเมบอล สโมสรชนะเลิศ โกปาลิเบร์ตาโดเรส ฤดูกาล 2019 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562[3] ครั้งที่ 1
อังกฤษ ลิเวอร์พูล ยูฟ่า สโมสรชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562[4] ครั้งที่ 2 (ครั้งที่ผ่านมา: 2005)
เข้าสู่รอบสอง
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล เอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562[5] ครั้งที่ 1
ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส ซีเอเอฟ สโมสรชนะเลิศ ซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 7 สิงหาคม พ.ศ. 2562[note 1] ครั้งที่ 3 (ครั้งที่ผ่านมา: 2011, 2018)
เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ คอนคาแคฟ สโมสรชนะเลิศ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก 2019 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[6] ครั้งที่ 4 (ครั้งที่ผ่านมา: 2011, 2012, 2013)
เข้าสู่รอบแรก
นิวแคลิโดเนีย อีเยิงแกนสปอร์ โอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[7] ครั้งที่ 1
ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์ เอเอฟซี (เจ้าภาพ) สโมสรชนะเลิศ กาตาร์สตาร์สลีก ฤดูกาล 2018–19 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562[note 2] ครั้งที่ 2 (ครั้งที่ผ่านมา: 2011)

หมายเหตุ

  1. The second leg of the final was played on 31 May 2019. However, the match was abandoned and Espérance de Tunis were initially declared champions by the referee. However, on 5 June 2019 the CAF Executive Committee ordered the match to be replayed, until a decision by CAS on 31 July 2019 ordered the decision to be taken by the CAF Disciplinary Board, who on 7 August 2019 restored the title to Espérance de Tunis.
  2. Al-Sadd won the 2018–19 Qatar Stars League on 4 April 2019. Their participation in the 2019 FIFA Club World Cup was officially confirmed on 13 August 2019 after Al-Duhail became the last team from Qatar other than Al-Sadd to be eliminated from the 2019 AFC Champions League. Al-Sadd themselves were eliminated from the 2019 AFC Champions League on 22 October 2019, confirming their first round entrance.

สนามแข่งขัน[แก้]

ฟีฟ่าได้ประกาศชื่อสนามสามแห่งที่ใช้สำหรับการแข่งขันเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562 สนามกีฬาทั้งสามตั้งอยู่ในกรุงโดฮา โดยสนามกีฬาญาซิม บิน ฮะมัดและสนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์เคยเป็นสถานที่จัดการแข่งขันเอเชียนคัพ 2011 (สนามหลังใช้จัดนัดชิงชนะเลิศ) ส่วนสนามกีฬาเอ็ดดูเคชันซิตีซึ่งสร้างขึ้นใหม่และจะเป็นสถานที่จัดการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ จะเป็นสถานที่จัดการแข่งขันแห่งหนึ่งของฟุตบอลโลก 2022 ด้วย เช่นเดียวกับสนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์[8] เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562, ฟีฟ่าได้ย้ายสามนัดทั้งหมด (รอบรองชนะเลิศนัดที่สองในวันที่ 18 ธันวาคม และนัดชิงอันดับ 3 และนัดชิงชนะเลิศในวันที่ 21 ธันวาคม) นั้นเป็นเนื่องจากจะลงเล่นที่ สนามกีฬาเอ็ดดูเคชันซิตี เปลี่ยนเป็น สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์ หลังจากเปิดใช้งานของสนามกีฬาเอ็ดดูเคชันซิตีนั้นถูกเลื่อนไปเป็นช่วงต้นปี 2020.[9]

โดฮา
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์ สนามกีฬาญาซิม บิน ฮะมัด
ความจุ: 45,416 ที่นั่ง ความจุ: 11,918 ที่นั่ง

ผู้เล่น[แก้]

นัด[แก้]

เพลย์ออฟ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
 11 ธันวาคม – โดฮา (จัสซิม)                          
 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
(ต่อเวลา)
 3   14 ธันวาคม – โดฮา (จัสซิม)        
 นิวแคลิโดเนีย อีเยิงแกนสปอร์  1      เม็กซิโก มอนเตร์เรย์  3
18 ธันวาคม – โดฮา (คาลิฟา)
   ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์  2    
 เม็กซิโก มอนเตร์เรย์  1
     อังกฤษ ลิเวอร์พูล  2  
21 ธันวาคม – โดฮา (คาลิฟา)
 อังกฤษ ลิเวอร์พูล
(ต่อเวลา)
 1
14 ธันวาคม – โดฮา (จัสซิม)
   บราซิล ฟลาเม็งกู  0
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล  1
17 ธันวาคม – โดฮา (คาลิฟา)
 ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส  0    
 บราซิล ฟลาเม็งกู  3
ชิงอันดับ 5 ชิงอันดับ 3
     ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล  1  
 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์  2  เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
(ลูกโทษ)
 2 (4)
 ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส  6  ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล  2 (3)
17 ธันวาคม – โดฮา (คาลิฟา) 21 ธันวาคม – โดฮา (คาลิฟา)

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานอาระเบีย (UTC+3)[10]

รอบแรก[แก้]

รอบสอง[แก้]


นัดชิงอันดับ 5[แก้]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


นัดชิงอันดับ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับดาวซัลโว[แก้]

หมายเหตุ: ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

อันดับ ชื่อ สโมสร ประตู
1 แอลจีเรีย Baghdad Bounedjah ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์ 3
ลิเบีย Hamdou Elhouni ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส
3 ตูนิเซีย Anice Badri ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส 2
บราซิล โรแบร์ตู ฟีร์มีนู อังกฤษ ลิเวอร์พูล
อาร์เจนตินา Rogelio Funes Mori เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
ฝรั่งเศส Bafétimbi Gomis ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
ประเทศกาตาร์ Abdelkarim Hassan ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
8 บราซิล Bruno Henrique บราซิล ฟลาเม็งกู 1
บราซิล Carlos Eduardo ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
ซาอุดีอาระเบีย Salem Al-Dawsari ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
อุรุกวัย Giorgian De Arrascaeta บราซิล ฟลาเม็งกู
ตูนิเซีย Sameh Derbali ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส
เม็กซิโก Alfonso González เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
ประเทศกาตาร์ Hassan Al-Haydos ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
กินี นาบี เกอีตา อังกฤษ ลิเวอร์พูล
อาร์เจนตินา Maximiliano Meza เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
เม็กซิโก Carlos Rodríguez เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
นิวแคลิโดเนีย Antoine Roine นิวแคลิโดเนีย อีเยิงแกนสปอร์
ประเทศกาตาร์ Ró-Ró ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
อาร์เจนตินา Leonel Vangioni เม็กซิโก มอนเตร์เรย์

1 การทำเข้าประตูตัวเอง

รางวัล[แก้]

รางวัลด้านล่างนี้ได้รับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน. มุฮัมมัด เศาะลาห์ ของ ลิเวอร์พูล ชนะรางวัล ลูกบอลทองคำ, จากผู้สนับสนุนโดย อาดิดาส, ซึ่งได้รับรางวัลร่วมกับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์ อาลีบาบา คลาวด์.[18]

ลูกบอลทองคำ ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์
(ลิเวอร์พูล)
บราซิล Bruno Henrique
(ฟลาเม็งกู)
บราซิล Carlos Eduardo
(อัล-ฮิลาล)
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
ตูนิเซีย แอ็สเปร็องส์เดอตูว์นิส

อ้างอิง[แก้]

  1. "Alibaba E-Auto signs as Presenting Partner of the FIFA Club World Cup". FIFA.com. 9 ธันวาคม พ.ศ. 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2019-11-03. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "FIFA Club World Cup Qatar 2019 to be played from 11 to 21 December". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 26 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  3. "Gabigol brace clinches Libertadores for Flamengo". FIFA.com. 23 November 2019.
  4. "Liverpool sink Spurs for sixth European crown". FIFA.com. 1 June 2019.
  5. "Al Hilal fire themselves to the Club World Cup". FIFA.com. 24 November 2019.
  6. "Monterrey crowned continental kings for fourth time". FIFA.com. 2 May 2019.
  7. "Hienghene claim historic OFC title". FIFA.com. 11 May 2019.
  8. "Education City Stadium to host FIFA Club World Cup Qatar 2019 final". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 30 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-04. สืบค้นเมื่อ 30 September 2019.
  9. "New FIFA Club World Cup champions to be crowned at Khalifa International Stadium". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 7 December 2019. สืบค้นเมื่อ 7 December 2019.
  10. "FIFA Club World Cup Qatar 2019 Match Schedule" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 30 September 2019. สืบค้นเมื่อ 30 September 2019.
  11. "Match report – First round – Al-Sadd SC v Hienghène Sport" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-16. สืบค้นเมื่อ 11 December 2019.
  12. "Match report – Second round – Al Hilal SFC v ES Tunis" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-16. สืบค้นเมื่อ 14 December 2019.
  13. "Match report – Second round – CF Monterrey v Al-Sadd SC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 December 2019. สืบค้นเมื่อ 14 December 2019.
  14. "Match report – fifth place – Al Sadd SC V Espérance Tunis" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-24. สืบค้นเมื่อ 17 December 2019.
  15. "Match report – Semi-finals – CR Flamengo V Al Hilal SFC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 December 2019. สืบค้นเมื่อ 17 December 2019.
  16. "Match report – Semi-finals – MONTERREY V LIVERPOOL FC" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 December 2019. สืบค้นเมื่อ 18 December 2019.
  17. "Match report – Final – Liverpool FC v CR Flamengo" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-21. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "Salah headlines Qatar 2019 award winners". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]