ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 46: บรรทัด 46:
=== พ.ศ. 2475 ===
=== พ.ศ. 2475 ===
* 27 มิถุนายน – [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ลงพระปรมาภิไธยในธรรมนูญการปกครองประเทศ โดยทรงเพิ่มคำว่า ''"ชั่วคราว"'' ต่อท้ายธรรมนูญการปกครองประเทศ ซึ่ง[[ปรีดี พนมยงค์]]เป็นผู้ร่าง<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 111</ref>
* 27 มิถุนายน – [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ลงพระปรมาภิไธยในธรรมนูญการปกครองประเทศ โดยทรงเพิ่มคำว่า ''"ชั่วคราว"'' ต่อท้ายธรรมนูญการปกครองประเทศ ซึ่ง[[ปรีดี พนมยงค์]]เป็นผู้ร่าง<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 111</ref>
* 28 มิถุนายน – มีการประชุม[[สภาผู้แทนราษฎร]]สมัยแรกตามธรรมนูญการปกครองประเทศชั่วคราว มีสมาชิก 70 คน โดยแต่งตั้งจากคณะราษฎร 31 คน และจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในระบอบเดิม 39 คน เลือก[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] เป็นประธานกรรมการราษฎร ถือว่าเป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนแรก<ref name="sarakadee-24-june-2475">[http://www.sarakadee.com/feature/1999/06/2475.htm www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]</ref> [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]]เป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก และมีปรีดี พนมยงค์ เป็น[[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 112</ref> (ดูเพิ่มที่ [[คณะกรรมการราษฎร]])
* 28 มิถุนายน – มีการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสมัยแรกตามธรรมนูญการปกครองประเทศชั่วคราว มีสมาชิก 70 คน โดยแต่งตั้งจากคณะราษฎร 31 คน และจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในระบอบเดิม 39 คน เลือก[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] เป็นประธานกรรมการราษฎร ถือว่าเป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนแรก<ref name="sarakadee-24-june-2475">[http://www.sarakadee.com/feature/1999/06/2475.htm www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]</ref> [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]]เป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก และมีปรีดี พนมยงค์ เป็น[[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 112</ref> (ดูเพิ่มที่ [[คณะกรรมการราษฎร]])
* 25 สิงหาคม – [[วัน จามรมาน|พระยานิติศาสตร์ไพศาล]] จดทะเบียนจัดตั้ง ''[[สมาคมคณะราษฎร]]'' ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นพรรคการเมืองแรกของไทย<ref>รากฐานไทย, [http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=157 ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย], เว็บไซต์[[รากฐานไทย]]</ref><ref name="sarakadee-khana-ratsadon-society">สารคดี, [http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=News&file=article&sid=2327 วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม], [[นิตยสารสารคดี]], 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550</ref>
* 25 สิงหาคม – [[วัน จามรมาน|พระยานิติศาสตร์ไพศาล]] จดทะเบียนจัดตั้ง ''[[สมาคมคณะราษฎร]]'' ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นพรรคการเมืองแรกของไทย<ref>รากฐานไทย, [http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=157 ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย], เว็บไซต์[[รากฐานไทย]]</ref><ref name="sarakadee-khana-ratsadon-society">สารคดี, [http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=News&file=article&sid=2327 วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม], [[นิตยสารสารคดี]], 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550</ref>
* 10 ธันวาคม – สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม|รัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก]] ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2|ผู้บริหารชุดใหม่ในนามใหม่]] คือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำนวน 20 นาย คณะบริหารชุดใหม่มีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี และมีรัฐมนตรีประจำกระทรวง 7 กระทรวง และ[[รัฐมนตรีลอย]]อีก 13 คน<ref name="history-politics" />
* 10 ธันวาคม – สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม|รัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก]] ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2|ผู้บริหารชุดใหม่ในนามใหม่]] คือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำนวน 20 นาย คณะบริหารชุดใหม่มีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี และมีรัฐมนตรีประจำกระทรวง 7 กระทรวง และ[[รัฐมนตรีลอย]]อีก 13 คน<ref name="history-politics" />
* 15 มีนาคม – ปรีดีเสนอ "[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงร่างเศรษฐกิจ]]" หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" เพื่อให้พิจารณาใช้เป็นหลักสำหรับนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ<ref name="pridi-fo">[http://www.pridi-fo.th.com/pridi-profile.htm www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์]</ref><ref>อนุสรณ์ ธรรมใจ, [http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=25&s_id=2&d_id=1 ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547], 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร</ref>
* 15 มีนาคม – หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเสนอ "[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงร่างเศรษฐกิจ]]" ("สมุดปกเหลือง")<ref name="pridi-fo">[http://www.pridi-fo.th.com/pridi-profile.htm www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์]</ref><ref>อนุสรณ์ ธรรมใจ, [http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=25&s_id=2&d_id=1 ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547], 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร</ref>


=== พ.ศ. 2476 ===
=== พ.ศ. 2476 ===
* 1 เมษายน – มีพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา<ref name="samesky-05-02">บทความ ''เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง'' ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550</ref> บ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวเป็น[[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476|การยึดอำนาจตัวเอง]] เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่<ref name="history-politics" />
* 1 เมษายน – [[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476]]: [[พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)]] นายกรัฐมนตรี ออกพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา<ref name="samesky-05-02">บทความ ''เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง'' ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550</ref> บ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวว่าเพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่<ref name="history-politics" /> โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรมพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี
* 2 เมษายน – มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี<ref name="thai-cons-dev" /> เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง<ref name="history-politics" /> โดยในขณะนั้นนายกรัฐมนตรีอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร{{อ้างอิง}}
* 2 เมษายน – มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี<ref name="thai-cons-dev" /> เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง<ref name="history-politics" />
* 12 เมษายน – ปรีดีถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยังประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากความเห็นของปรีดีถูกโจมตีว่าเป็น[[คอมมิวนิสต์]] ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ<ref name="geocities-siamintellect">[http://web.archive.org/20070723175344/www.geocities.com/siamintellect/intellects/pridi/biography.htm geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์]</ref>
* 12 เมษายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรมถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยังประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากความเห็นของปรีดีถูกโจมตีว่าเป็น[[คอมมิวนิสต์]] ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ<ref name="geocities-siamintellect">[http://web.archive.org/20070723175344/www.geocities.com/siamintellect/intellects/pridi/biography.htm geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์]</ref>
* 10 มิถุนายน – พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก<ref name="samesky-05-02" />
* 10 มิถุนายน – พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก<ref name="samesky-05-02" />
* 20 มิถุนายน – [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]][[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]][[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] นายกรัฐมนตรี จากนั้นมีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
* 20 มิถุนายน – [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]][[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]][[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] นายกรัฐมนตรี โดยให้เหตุผลว่าการปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรเป็นเผด็จการ จากนั้นมีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
* 29 กันยายน – ปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสยาม และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* 29 กันยายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเดินทางกลับสยาม
* 1 ตุลาคม–15 พฤศจิกายน – มี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476|การเลือกตั้งผู้แทนราษฎรผ่านผู้แทนตำบล]] นับเป็นการเลือกตั้งโดยอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ไทย
* 11 ตุลาคม – [[กบฏบวรเดช]]: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
* 11 ตุลาคม – [[กบฏบวรเดช]]: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
* 25 ตุลาคม – พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]
* 25 ตุลาคม – พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]
* 7 พฤศจิกายน – ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล<ref name="history-politics" /> คือ ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร{{อ้างอิง}}
* 7 พฤศจิกายน – ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล<ref name="history-politics" />
* 16 ธันวาคม – พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) <ref name="thai-cons-dev" />
* 16 ธันวาคม – พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476|การเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) <ref name="thai-cons-dev" />
* 25 ธันวาคม – [[หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]]ทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่ปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าปรีดีมิได้เป็น<ref name="history-politics" />
* 25 ธันวาคม – [[หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]]ทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่ปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าปรีดีมิได้เป็น<ref name="history-politics" />


บรรทัด 83: บรรทัด 84:


=== พ.ศ. 2484 ===
=== พ.ศ. 2484 ===
* 8 ธันวาคม – [[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย]]: กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่หลายจังหวัดติด[[อ่าวไทย]]
* 8 ธันวาคม – [[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย]]: กองทัพญี่ปุ่น[[การบุกครองไทยของญี่ปุ่น|ยกพลขึ้นบกที่หลายจังหวัดติดอ่าวไทย]]
* 11 ธันวาคม – รัฐบาลไทยยอมยุติการต่อสู้กับกองกำลังญี่ปุ่น และประกาศทางวิทยุให้ทุกฝ่ายหยุดยิง
* 11 ธันวาคม – รัฐบาลไทยยอมยุติการต่อสู้กับกองกำลังญี่ปุ่น และประกาศทางวิทยุให้ทุกฝ่ายหยุดยิง
* 12 ธันวาคม – [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เอกอัครทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ไม่ยอมรับการประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรัฐบาลไทย และได้ประกาศ[[ขบวนการเสรีไทย]]ขึ้นที่นั่น โดยต่อมาคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนหลายคน เช่น นาย[[ปรีดี พนมยงค์]] นาย[[ทวี บุณยเกตุ]] นาย[[ควง อภัยวงศ์]] ได้แยกตัวออกมาร่วมกับขบวนการเสรีไทยในประเทศ เนื่องจากไม่อาจรับกับการกระทำของรัฐบาล
* 12 ธันวาคม – [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เอกอัครทูตไทยประจำสหรัฐ ไม่ยอมรับการประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรัฐบาลไทย และได้ประกาศ[[ขบวนการเสรีไทย]]ขึ้นที่นั่น โดยต่อมาคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนหลายคน เช่น [[ปรีดี พนมยงค์]], [[ทวี บุณยเกตุ]] และ[[ควง อภัยวงศ์]] แยกตัวจากรัฐบาลมาเข้าร่วมกับขบวนการเสรีไทยในประเทศ


=== พ.ศ. 2486 ===
=== พ.ศ. 2486 ===

=== พ.ศ. 2487 ===
=== พ.ศ. 2487 ===
* 24 กรกฎาคม – จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกกดดันให้ลงออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนโยบาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์ ที่ จอมพล ป. นำเสนอ<ref name="history-politics" />
* 24 กรกฎาคม – จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกกดดันให้ลงออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนโยบาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์<ref name="history-politics" />
* 1 สิงหาคม – [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา|พลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงได้ลงมติแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่เพียงผู้เดียว
* 1 สิงหาคม – [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา|พลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงได้ลงมติแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่เพียงผู้เดียว
* 24 สิงหาคม – จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกปลดจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด<ref name="history-politics" />
* 24 สิงหาคม – จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกปลดจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด<ref name="history-politics" />
บรรทัด 95: บรรทัด 97:
=== พ.ศ. 2488 ===
=== พ.ศ. 2488 ===
* 16 สิงหาคม – [[ปรีดี พนมยงค์]]ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ออก[[ประกาศสันติภาพ]] ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ"
* 16 สิงหาคม – [[ปรีดี พนมยงค์]]ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ออก[[ประกาศสันติภาพ]] ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ"
* 20 สิงหาคม – รัฐบาลควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากเป็นรัฐบาลที่มีขึ้นในสมัยสงคราม<ref name="history-politics" />
* 20 สิงหาคม – รัฐบาลควง อภัยวงศ์ลาออกจากตำแหน่ง<ref name="history-politics" />
* 1 กันยายน – [[ทวี บุณยเกตุ]]ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ มีอายุได้ 17 วัน โดยรัฐมนตรีส่วนใหญ่เป็นฝ่ายเสรีไทย<ref name="history-politics" />
* 1 กันยายน – [[ทวี บุณยเกตุ]]ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ<ref name="history-politics" />
* 17 กันยายน – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเดินทางกลับจากสหรัฐอเมริกามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้ดำเนินการเจรจา[[ความตกลงสมบูรณ์แบบ]]
* 17 กันยายน – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเดินทางกลับจากสหรัฐมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้ดำเนินการเจรจา[[ความตกลงสมบูรณ์แบบ]]
* 27 กันยายน – รัฐบาลเสนอพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อใช้จัดการกับ จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะ<ref name="history-politics" />
* 27 กันยายน – รัฐบาลเสนอพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อใช้จัดการกับ จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะ<ref name="history-politics" />
* 15 ตุลาคม – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
* 15 ตุลาคม – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
บรรทัด 103: บรรทัด 105:
=== พ.ศ. 2489 ===
=== พ.ศ. 2489 ===
* [[1 มกราคม]] - ม.ร.ว.เสนีย์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากเสร็จภารกิจเจรจากับประเทศอังกฤษ
* [[1 มกราคม]] - ม.ร.ว.เสนีย์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากเสร็จภารกิจเจรจากับประเทศอังกฤษ
* [[6 มกราคม]] - มีการเลือกตั้งทั่วไป
* [[6 มกราคม]] - มี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489|การเลือกตั้งทั่วไป]]
* [[31 มกราคม]] - นาย[[ควง อภัยวงศ์]] ได้รับเสียงสนับสนุนจากสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งที่ 2 และจัดตั้งรัฐบาลต่อจาก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
* [[31 มกราคม]] - มติสภาผู้แทนราษฎรเลือก[[ควง อภัยวงศ์]]เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2
* [[18 มีนาคม]] - นายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพราะแพ้การลงมติในสภาผู้แทนราษฎร เรื่องร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองค่าใช้จ่ายฯ<ref name="history-politics" />
* [[18 มีนาคม]] - ควง อภัยวงศ์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพราะแพ้การลงมติในสภาผู้แทนราษฎร เรื่องร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองค่าใช้จ่ายฯ<ref name="history-politics" />
* [[24 มีนาคม]] - นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเสียงสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี<ref name="history-politics" />
* [[24 มีนาคม]] - ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเสียงสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี<ref name="history-politics" />
* [[9 พฤษภาคม]] - รัฐสภามีรัฐพิธีลงพระปรมาภิไธยใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 3]]<ref name="thai-cons-dev" />
* [[5 เมษายน]] - ม.ร.ว เสนีย์ ร่วมกับนายควง อภัยวงศ์ ดำเนินการจัดตั้ง[[พรรคประชาธิปัตย์]] โดยนายควง เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ม.ร.ว.เสนีย์ เป็นรองหัวหน้าพรรค ม.ร.ว.[[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] ที่ยุบ[[พรรคก้าวหน้า]]มารวมเป็นเลขาธิการพรรค และนาย[[ชวลิต อภัยวงศ์]] เป็นรองเลขาธิการพรรค
* [[9 พฤษภาคม]] - รัฐสภามีรัฐพิธีลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 3 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระราชทานให้นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ<ref name="thai-cons-dev" />
* 8 มิถุนายน – ปรีดีลาออกจากตำแหน่งเพื่อให้เป็นไปตามวิถีทางของรัฐธรรมนูญ หลังรัชกาลที่ 8 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่รัฐสภาก็มีมติเป็นเอกฉันท์ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกครั้ง
* 8 มิถุนายน – ปรีดีลาออกจากตำแหน่งเพื่อให้เป็นไปตามวิถีทางของรัฐธรรมนูญ หลังรัชกาลที่ 8 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่รัฐสภาก็มีมติเป็นเอกฉันท์ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกครั้ง
* [[9 มิถุนายน]]
* [[9 มิถุนายน]] - [[เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8|เหตุการณ์เสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]: นายปรีดีและ[[คณะรัฐมนตรี]]ได้ขอความเห็นชอบต่อสภาว่า ผู้ที่จะขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช|พระอนุชา]] เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว นายปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุผลว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงแต่งตั้งตนเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้สวรรคตเสียแล้ว
** [[เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8|เหตุการณ์เสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]:
* [[9 มิถุนายน]] - ศัตรูทางการเมืองของนายปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์ สบโอกาสในการทำลายนายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" ซึ่งเป็นคำกล่าวอ้างที่ร้ายแรงมาก จนกลายเป็นกระแสข่าวลือ และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองทั้งหมดในเดือนพฤศจิกายน
** ปรีดีและคณะรัฐมนตรีได้ขอความเห็นชอบต่อสภาว่า ผู้ที่จะขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช|พระอนุชา]] เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว นายปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุผลว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงแต่งตั้งตนเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้สวรรคตเสียแล้ว
* [[5 สิงหาคม]] - การเลือกตั้งเพิ่มเติม
** ศัตรูทางการเมืองของนายปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์{{อ้างอิง}} สบโอกาสในการทำลายนายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" ซึ่งเป็นคำกล่าวอ้างที่ร้ายแรงมาก จนกลายเป็นกระแสข่าวลือ และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองทั้งหมดในเดือนพฤศจิกายน
* [[5 สิงหาคม]] - [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489|การเลือกตั้งเพิ่มเติม]]
* [[23 สิงหาคม]] - พลเรือตรี [[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี<ref name="history-politics" />
* [[23 สิงหาคม]] - พลเรือตรี [[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี<ref name="history-politics" />


=== [[พ.ศ. 2490]] ===
=== พ.ศ. 2490 ===
* [[19 พฤษภาคม|19]]-[[26 พฤษภาคม]] - [[พรรคประชาธิปัตย์]]อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นานถึง 7 วัน 7 คืนติดต่อกัน จนถูกเรียกว่า "มหกรรม 7 วัน" การลงมติปรากฏว่า พล.ร.ต.ถวัลย์ ได้มติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่ออย่างท่วมท้น แต่เนื่องจากกระแสกดดันอย่างมากทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องลาออกในวันรุ่งขึ้น แต่ก็กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันถัดมา
* 19–26 พฤษภาคม [[พรรคประชาธิปัตย์]]อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นานถึง 7 วัน 7 คืนติดต่อกัน จนถูกเรียกว่า "มหกรรม 7 วัน" การลงมติปรากฏว่า พล.ร.ต.ถวัลย์ ได้มติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่ออย่างท่วมท้น แต่เนื่องจากกระแสกดดันอย่างมากทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องลาออกในวันรุ่งขึ้น แต่ก็กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันถัดมา
* [[8 พฤศจิกายน]] - พล.ท.[[ผิน ชุณหะวัณ]] และ น.อ.[[กาจ กาจสงคราม]] นำกำลังทหารยึดอำนาจจากปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต.[[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) โดยอ้างว่าไม่สามารถสะสาง[[เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8|กรณีสวรรคต]]ได้ และได้ทำการฉีกรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 ทิ้ง<ref name="soldier-politics">ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์: ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของ ไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ) </ref> จากเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหาร]]นี้ ทำให้นายปรีดี และพล.ร.ต.ถวัลย์ ต้องหลบหนีออกนอกประเทศไปยัง[[สหรัฐอเมริกา]] ในขณะนั้นรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้ความสนับสนุนฝ่ายรัฐประหาร นายปรีดีจึงเดินทางไป[[ประเทศจีน|จีน]]แทน<ref name="geocities-siamintellect" /> อนึ่ง กรณีสวรรคตยังส่งผลให้กลุ่มการเมืองฝ่ายนายปรีดีต้องพลอยหมดบทบาทจากเวทีการเมืองไทยภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ด้วย
* 8 พฤศจิกายน – [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490]]: พล.ท.[[ผิน ชุณหะวัณ]] และ น.อ.[[กาจ กาจสงคราม]] นำกำลังทหารยึดอำนาจจากปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต.[[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) โดยอ้างว่าไม่สามารถสะสาง[[เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8|กรณีสวรรคต]]ได้ และยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489<ref name="soldier-politics">ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์: ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของ ไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ) </ref> ปรีดี และพล.ร.ต.ถวัลย์ หลบหนีออกนอกประเทศไปยัง[[สหรัฐ]] ในขณะนั้นรัฐบาลสหรัฐให้ความสนับสนุนฝ่ายรัฐประหาร ปรีดีจึงเดินทางไป[[ประเทศจีน]]แทน<ref name="geocities-siamintellect" />


== หมายเหตุ ==
== หมายเหตุ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:44, 26 กันยายน 2562

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2490

เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำในระบอบเก่า กับระบอบใหม่ หรือความขัดแย้งในผู้นำคณะราษฎรด้วยกันเอง จนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 ถือได้ว่าเป็นการล้างอำนาจทางการเมืองของคณะราษฎรเสียสิ้น

บุคคลที่เกี่ยวข้อง

ก่อนการปฏิวัติ (พ.ศ. 2469–2475)

พ.ศ. 2469

พ.ศ. 2474

พ.ศ. 2475

ลำดับเหตุการณ์หลังการปฏิวัติ (พ.ศ. 2475–2500)

พ.ศ. 2475

พ.ศ. 2476

  • 1 เมษายน – รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476: พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) นายกรัฐมนตรี ออกพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา[11] บ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวว่าเพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่[2] โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรมพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี
  • 2 เมษายน – มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี[12] เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง[2]
  • 12 เมษายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรมถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยังประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากความเห็นของปรีดีถูกโจมตีว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ[13]
  • 10 มิถุนายน – พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก[11]
  • 20 มิถุนายน – พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนารัฐประหารพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรี โดยให้เหตุผลว่าการปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรเป็นเผด็จการ จากนั้นมีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
  • 29 กันยายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเดินทางกลับสยาม
  • 1 ตุลาคม–15 พฤศจิกายน – มีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรผ่านผู้แทนตำบล นับเป็นการเลือกตั้งโดยอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ไทย
  • 11 ตุลาคม – กบฏบวรเดช: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
  • 25 ตุลาคม – พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศอินโดจีนฝรั่งเศส
  • 7 พฤศจิกายน – ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล[2]
  • 16 ธันวาคม – พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476|การเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) [12]
  • 25 ธันวาคม – หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่ปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าปรีดีมิได้เป็น[2]

พ.ศ. 2477

  • 2 มีนาคม – พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ขณะประทับรักษาพระเนตรอยู่ในประเทศอังกฤษ, วันเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี ขณะที่มีพระชนมายุ 9 พรรษา ได้แต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
  • 13 กันยายน – รัฐบาลลาออก เพราะแพ้คะแนนเสียงในสภาเรื่องสัญญาการจำกัดยาง[12]
  • 22 กันยายน – ตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[12]

พ.ศ. 2479

พ.ศ. 2480

  • 27 กรกฎาคม – พระยาพหลพลพยุหเสนาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีอื้อฉาวที่มีกระทู้ถามเรื่องการนำที่ดินของพระคลังข้างที่มาซื้อขายในราคาถูกเป็นพิเศษ เพื่อเป็นแสดงความบริสุทธิ์และแสดงให้เห็นถึงความไม่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายที่ดินดังกล่าว[2]
  • 5 สิงหาคม – จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี รับสนองพระบรมราชโองการ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญว่าด้วยนามประเทศ โดยให้เรียกชื่อประเทศว่า "ประเทศไทย" และเปลี่ยนคำว่า "สยาม" ให้เป็น "ไทย" แทน โดยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงหลักการของลัทธิชาติ-ชาตินิยมว่า "รัฐบาลเห็นควรถือเป็นรัฐนิยมให้ใช้ชื่อประเทศ ให้ต้องตามชื่อเชื้อชาติ และความนิยมของประชาชน"[15]

พ.ศ. 2481

  • 18 กรกฎาคม – รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง "วันชาติ" กำหนดให้วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันชาติ ซึ่งตรงกับวันปฏิวัติ[16][17]
  • 11 กันยายน – พระยาพหลพลพยุหเสนา ยุบสภา เนื่องจากรัฐบาลแพ้คะแนนเสียงเรื่องการชี้แจงรายรับ-รายจ่ายที่รัฐบาลจัดทำเสนอ[2]
  • 16 ธันวาคม – จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

พ.ศ. 2484

พ.ศ. 2486

พ.ศ. 2487

  • 24 กรกฎาคม – จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกกดดันให้ลงออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนโยบาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์[2]
  • 1 สิงหาคม – พลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงได้ลงมติแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่เพียงผู้เดียว
  • 24 สิงหาคม – จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกปลดจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด[2]

พ.ศ. 2488

  • 16 สิงหาคม – ปรีดี พนมยงค์ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ออกประกาศสันติภาพ ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ"
  • 20 สิงหาคม – รัฐบาลควง อภัยวงศ์ลาออกจากตำแหน่ง[2]
  • 1 กันยายน – ทวี บุณยเกตุได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ[2]
  • 17 กันยายน – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเดินทางกลับจากสหรัฐมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้ดำเนินการเจรจาความตกลงสมบูรณ์แบบ
  • 27 กันยายน – รัฐบาลเสนอพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อใช้จัดการกับ จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะ[2]
  • 15 ตุลาคม – หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่

พ.ศ. 2489

  • 1 มกราคม - ม.ร.ว.เสนีย์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากเสร็จภารกิจเจรจากับประเทศอังกฤษ
  • 6 มกราคม - มีการเลือกตั้งทั่วไป
  • 31 มกราคม - มติสภาผู้แทนราษฎรเลือกควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2
  • 18 มีนาคม - ควง อภัยวงศ์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพราะแพ้การลงมติในสภาผู้แทนราษฎร เรื่องร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองค่าใช้จ่ายฯ[2]
  • 24 มีนาคม - ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเสียงสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี[2]
  • 9 พฤษภาคม - รัฐสภามีรัฐพิธีลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 3[12]
  • 8 มิถุนายน – ปรีดีลาออกจากตำแหน่งเพื่อให้เป็นไปตามวิถีทางของรัฐธรรมนูญ หลังรัชกาลที่ 8 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่รัฐสภาก็มีมติเป็นเอกฉันท์ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกครั้ง
  • 9 มิถุนายน
    • เหตุการณ์เสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล:
    • ปรีดีและคณะรัฐมนตรีได้ขอความเห็นชอบต่อสภาว่า ผู้ที่จะขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จพระอนุชา เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว นายปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุผลว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงแต่งตั้งตนเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้สวรรคตเสียแล้ว
    • ศัตรูทางการเมืองของนายปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์[ต้องการอ้างอิง] สบโอกาสในการทำลายนายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" ซึ่งเป็นคำกล่าวอ้างที่ร้ายแรงมาก จนกลายเป็นกระแสข่าวลือ และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองทั้งหมดในเดือนพฤศจิกายน
  • 5 สิงหาคม - การเลือกตั้งเพิ่มเติม
  • 23 สิงหาคม - พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี[2]

พ.ศ. 2490

  • 19–26 พฤษภาคม – พรรคประชาธิปัตย์อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นานถึง 7 วัน 7 คืนติดต่อกัน จนถูกเรียกว่า "มหกรรม 7 วัน" การลงมติปรากฏว่า พล.ร.ต.ถวัลย์ ได้มติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่ออย่างท่วมท้น แต่เนื่องจากกระแสกดดันอย่างมากทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องลาออกในวันรุ่งขึ้น แต่ก็กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันถัดมา
  • 8 พฤศจิกายน – รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490: พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และ น.อ.กาจ กาจสงคราม นำกำลังทหารยึดอำนาจจากปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) โดยอ้างว่าไม่สามารถสะสางกรณีสวรรคตได้ และยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489[18] ปรีดี และพล.ร.ต.ถวัลย์ หลบหนีออกนอกประเทศไปยังสหรัฐ ในขณะนั้นรัฐบาลสหรัฐให้ความสนับสนุนฝ่ายรัฐประหาร ปรีดีจึงเดินทางไปประเทศจีนแทน[13]

หมายเหตุ

  • ในลำดับเหตุการณ์ข้างต้น ระหว่างปี พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2503 ซึ่งปีพุทธศักราชมีการเปลี่ยนแปลงวันเริ่มศักราช จากเดิมเริ่มต้นปีในวันที่ 1 เมษายน แต่หลังจากปี พ.ศ. 2483 ประเทศไทยได้ปรับวันขึ้นปีเป็นวันที่ 1 มกราคม ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลในปีก่อน พ.ศ. 2483 เกิดความสับสนในการเรียงลำดับ

อ้างอิง

  1. thunder.prohosting.com สยาม 2475 - 2490 คณะราษฎร
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2550
  3. เหตุการณ์ในแผ่นดินเมื่อปี พ.ศ. 2475
  4. คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์ หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 111
  5. www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
  6. คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์ หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 112
  7. รากฐานไทย, ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย, เว็บไซต์รากฐานไทย
  8. สารคดี, วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม, นิตยสารสารคดี, 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550
  9. www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์
  10. อนุสรณ์ ธรรมใจ, ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547, 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร
  11. 11.0 11.1 บทความ เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ thai-cons-dev
  13. 13.0 13.1 geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์
  14. ประชาไท, ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ย่อหน้า 8), ประชาไท, 19 กันยายน พ.ศ. 2550
  15. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับที่ 1401, 1402 วันที่ 22 และ 29 มิ.ย. 2550 (ผ่านหนังสือ จากสยามเป็นไทย: นามนั้นสำคัญมากฉะนี้หรือ? เอกสารวิชาการ โครงการตลาดวิชา มหาวิทยาลัยชาวบ้าน หน้า 8 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ)
  16. เกษียร เตชะพีระ, 20 พฤษภาฯ วันสิ้น (วัน) ชาติ, มติชน ปีที่ 26 ฉบับที่ 9310, 5 กันยายน พ.ศ. 2546 (อ้างผ่านเว็บไซต์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า)
  17. พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย, เพลงวันชาติ 24 มิถุนายน, เว็บไซต์พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย
  18. ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์: ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของ ไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ)

ดูเพิ่ม