ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็อทโทที่ 1 มหาราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี" → "[[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรม...
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| succession2 = [[ราชอาณาจักรเยอรมนี|กษัตริย์แห่งเยอรมนี]]
| succession2 = [[ราชอาณาจักรเยอรมนี|กษัตริย์แห่งเยอรมนี]]
| reign2 = 2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
| reign2 = 2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
| predecessor2 = [[ไฮน์ริชพรานล่านก|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
| predecessor2 = [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
| successor2 = [[จักรพรรดิออทโทที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิออทโทที่ 2]]
| successor2 = [[จักรพรรดิออทโทที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิออทโทที่ 2]]
| coronation2 = 7 สิงหาคม 936<br>ณ [[อาเคิน]]
| coronation2 = 7 สิงหาคม 936<br>ณ [[อาเคิน]]
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
| reign3 = 2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
| reign3 = 2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
| coronation3 =
| coronation3 =
| predecessor3 = [[ไฮน์ริชพรานล่านก|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
| predecessor3 = [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี]]
| successor3 = [[Bernard I, Duke of Saxony|เบอร์นาร์ดที่ 1]]
| successor3 = [[Bernard I, Duke of Saxony|เบอร์นาร์ดที่ 1]]
| full name =
| full name =
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
|spouse=[[Eadgyth|แอดกิธแห่งอังกฤษ]] (930–946)<br>อาเดลาอีเดแห่งอิตาลี (951–973)
|spouse=[[Eadgyth|แอดกิธแห่งอังกฤษ]] (930–946)<br>อาเดลาอีเดแห่งอิตาลี (951–973)
|issue=
|issue=
| father = [[ไฮน์ริชพรานล่านก|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี]]
| father = [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
| mother = มาทิลดา
| mother = มาทิลดา
| birth_date = {{birth date|912|11|23|df=y}}
| birth_date = {{birth date|912|11|23|df=y}}
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
{{ใช้ปีคศ|width=264px}}
{{ใช้ปีคศ|width=264px}}


'''จักรพรรดิออทโทที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 210</ref> ({{lang-en|Otto I, Holy Roman Emperor) หรือ '''ออทโทที่ 1 มหาราช''' ({{lang-de|Otto I. der Große}}) <ref>Otto I, Holy Roman Emperor[http://www.answers.com/topic/otto-i-holy-roman-emperor]</ref>}}) ทรงเป็น[[ราชอาณาจักรเยอรมนี|กษัตริย์เยอรมัน]]ในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็น[[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน[[ไฮน์ริชพรานล่านก|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี]]กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์
'''จักรพรรดิออทโทที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 210</ref> ({{lang-en|Otto I, Holy Roman Emperor) หรือ '''ออทโทที่ 1 มหาราช''' ({{lang-de|Otto I. der Große}}) <ref>Otto I, Holy Roman Emperor[http://www.answers.com/topic/otto-i-holy-roman-emperor]</ref>}}) ทรงเป็น[[ราชอาณาจักรเยอรมนี|กษัตริย์เยอรมัน]]ในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็น[[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์


พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่ง[[ดัชชีซัคเซิน]]และบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า '''พระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี''' เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]เข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์
พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่ง[[ดัชชีซัคเซิน]]และบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า '''พระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี''' เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]เข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:17, 24 มีนาคม 2560

ออทโทที่ 1 มหาราช
รูปปั้นในมัคเดอบวร์ค
จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ครองราชย์2 กุมภาพันธ์ 962 – 7 เมษายน 973
ราชาภิเษก2 กุมภาพันธ์ 962[1]
ณ กรุงโรม
ก่อนหน้าพระเจ้าเบเรนการ์ที่ 2
ถัดไปจักรพรรดิออทโทที่ 2
กษัตริย์แห่งอิตาลี
ครองราชย์25 ธันวาคม 961 – 7 พฤษภาคม 973
ราชาภิเษก10 ตุลาคม 951[a]
ปาวีอา
ก่อนหน้าพระเจ้าเบเรนการ์ที่ 2
ถัดไปจักรพรรดิออทโทที่ 2
กษัตริย์แห่งเยอรมนี
ครองราชย์2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
ราชาภิเษก7 สิงหาคม 936
อาเคิน
ก่อนหน้าพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1
ถัดไปจักรพรรดิออทโทที่ 2
ดยุกแห่งซัคเซิน
ครองราชย์2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
ก่อนหน้าพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี
ถัดไปเบอร์นาร์ดที่ 1
ประสูติ23 พฤศจิกายน ค.ศ. 912(912-11-23)
อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก[2]
สวรรคต7 พฤษภาคม ค.ศ. 973(973-05-07) (60 ปี)
เมมเลเบิน, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ชายาแอดกิธแห่งอังกฤษ (930–946)
อาเดลาอีเดแห่งอิตาลี (951–973)
ราชวงศ์ออทโท
พระราชบิดาพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1
พระราชมารดามาทิลดา
ศาสนาโรมันคาทอลิก

จักรพรรดิออทโทที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์[3] (อังกฤษ: Otto I, Holy Roman Emperor) หรือ ออทโทที่ 1 มหาราช (เยอรมัน: Otto I. der Große) [4]) ทรงเป็นกษัตริย์เยอรมันในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์

พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่งดัชชีซัคเซินและบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า พระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักรโรมันคาทอลิกเข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์

หลังทรงจัดการสงครามกลางเมืองระหว่างดัชชีต่างๆได้ พระองค์ก็สามารถมีชัยเหนือพวกมักยาร์ (ฮังการี) ในยุทธการที่เลชเฟิลด์ ค.ศ. 955 ได้ ทำให้ยุโรปตะวันตกพ้นภัยจากการรุกรานของฮังการี[5] นอกจากนี้ การมีชัยเหนือพวกฮังการีนอกศาสนายังทำให้พระองค์มีชื่อเสียงขึ้นมาอย่างมากในฐานะ "ผู้กอบกู้แห่งคริสตจักร" ต่อมาในปี ค.ศ. 961 พระองค์สามารถพิชิตราชอาณาจักรอิตาลี และขยายดินแดนของพระองค์ไปทางเหนือ, ตะวันออก และใต้ ในปีค.ศ. 962 พระองค์ทรงราชาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยให้พระสันตะปาปาสวมมงกุฎให้ในกรุงโรม เหมือนอย่างที่ชาร์เลอมาญเคยทำ

อ้างอิง

  1. Heather 2014, p. 281.
  2. Freund, Stephan (2013). Wallhausen – Geburtsort Ottos des Großen, Aufenthaltsort deutscher Könige und Kaiser (ภาษาGerman). Schnell und Steiner. ISBN 978-3-7954-2680-4.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  3. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 210
  4. Otto I, Holy Roman Emperor[1]
  5. Reuter 1991, p. 254.
  1. Berengar II ruled from 952 until 961 as "King of Italy", but as Otto's vassal.

ดูเพิ่ม