ข้ามไปเนื้อหา

ซูโดอีเฟดรีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก PSE)
ซูโดอีเฟดรีน
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/ˌsd.ɪˈfɛdrɪn, -ˈɛfɪdrn/
ชื่อทางการค้าAfrinol, Sudafed, Sinutab, อื่น ๆ
ชื่ออื่นPSE; PDE; (+)-ψ-Ephedrine; ψ-Ephedrine; d-Isoephedrine; (1S,2S)-Pseudoephedrine; d-Pseudoephedrine; (+)-Pseudoephedrine; L(+)-Pseudoephedrine; Isoephedrine; (1S,2S)-α,N-Dimethyl-β-hydroxyphenethylamine; (1S,2S)-N-Methyl-β-hydroxyamphetamine
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682619
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
ช่องทางการรับยาทางปาก[1][2]
ประเภทยาNorepinephrine releasing agents; Sympathomimetics; Nasal decongestants; Psychostimulants
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
Largely tracked nationwide via “Project STOP” to avoid purchases in large quantities.[3] Use of Project STOP is mandatory in all states and territories except Victoria and Tasmania[4][5]
  • AU: S3 (จ่ายโดยเภสัชกรเท่านั้น) Largely tracked nationwide via “Project STOP” to avoid purchases in large quantities.[3] Use of Project STOP is mandatory in all states and territories except Victoria and Tasmania[4][5]
  • BR: Class D1 (สารตั้งต้นในการผลิตยา) [6]
  • CA: OTC ถอนจาก NDS ใน ค.ศ. 2024 ทั้งการเตรียมแบบผสมและแบบส่วนผสมเดียว ในวันที่ 1 มีนาคม และ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2024 ตามลำดับ[7]
  • UK: P (Pharmacy medicines)
  • US: OTC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล~100%[9]
การจับกับโปรตีน21–29% (AGP, HSA)[10][11]
การเปลี่ยนแปลงยาไม่เผาผลาญอย่างมาก[8][1][2]
สารซึ่งได้หลังการเปลี่ยนแปลงยาNorpseudoephedrine[1]
ระยะเริ่มออกฤทธิ์30 นาที[1]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ5.4 ชั่วโมง (range 3–16 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับค่า pH ของปัสสาวะ)[2][1][8]
ระยะเวลาออกฤทธิ์4–12 ชั่วโมง[1][12]
การขับออกปัสสาวะ: 43–96% (ไม่เปลี่ยนแปลง)[1][8][2][9]
ตัวบ่งชี้
  • (1S,2S)-2-(methylamino)-1-phenylpropan-1-ol
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.001.835
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC10H15NO
มวลต่อโมล165.236 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O[C@@H](c1ccccc1)[C@@H](NC)C
  • InChI=1S/C10H15NO/c1-8(11-2)10(12)9-6-4-3-5-7-9/h3-8,10-12H,1-2H3/t8-,10+/m0/s1 checkY
  • Key:KWGRBVOPPLSCSI-WCBMZHEXSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ซูโดอีเฟดรีน (อังกฤษ: pseudoephedrine, ย่อว่า PSE) เป็นสารเอมีนชนิดซิมพาเทติก มักใช้เพื่อลดอาการคัดจมูก ในประเทศไทย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท2 ตาม พ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท เช่นเดียวกับยาเสพติดประเภทอื่นๆ [13]

โครงสร้างเคมี

[แก้]

ซูโดอีเฟดรีน คือ ไดแอสเทอร์โอเมอร์ของเอฟิดรีน. ซูโดอีเฟดรีนเป็น ไครอลโมเลกุล หมายถึง สเตอริโอไอโซเมอร์ที่มีอะตอมไครัลมากกว่าหนึ่ง แต่ไม่ใช่คู่ที่เป็นภาพในกระจกซึ่งกันและกัน. ซูโดอีเฟดรีนเป็นสารตั้งต้นในการผลิตยาเมธแอมเฟตามีน หรือยาไอซ์ และ ยาบ้า [ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GłowackaWiela-Hojeńska2021
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Eccles2007
  3. "Project STOP A Pharmacy Guild Initiative, May 2016" (PDF). The Pharmacy Guild of Australia. 18 May 2016.
  4. "Trends & issues in crime and criminal justice No. 509, March 2016" (PDF). Australian Institute of Criminology. 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 July 2024.
  5. "Project STOP mandatory for pharmacists in NSW from next month". Pulse.IT. 24 February 2016. สืบค้นเมื่อ 11 July 2024.
  6. Anvisa (31 March 2023). "RDC Nº 784 - Listas de Substâncias Entorpecentes, Psicotrópicas, Precursoras e Outras sob Controle Especial" [Collegiate Board Resolution No. 784 - Lists of Narcotic, Psychotropic, Precursor, and Other Substances under Special Control] (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). Diário Oficial da União (ตีพิมพ์ 4 April 2023). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2023. สืบค้นเมื่อ 15 August 2023.
  7. "Background on Update to NAPRA NHP Policy". napra.ca. 10 June 2024. สืบค้นเมื่อ 11 July 2024.
  8. 8.0 8.1 8.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ChuaBenrimojTriggs1989
  9. 9.0 9.1 Brunton LL, Lazo JS, Parker K, บ.ก. (2006). Goodman & Gilman's The Pharmacological Basis of Therapeutics (11th ed.). New York: McGraw-Hill Medical Publishing Division. ISBN 0-07-142280-3.
  10. Volpp M, Holzgrabe U (January 2019). "Determination of plasma protein binding for sympathomimetic drugs by means of ultrafiltration". Eur J Pharm Sci. 127: 175–184. doi:10.1016/j.ejps.2018.10.027. PMID 30391401.
  11. Schmidt S (2023). Lang-etablierte Arzneistoffe genauer unter die Lupe genommen: Enantioselektive Proteinbindung und Stabilitätsstudien [A closer look at long-established drugs: enantioselective protein binding and stability studies] (วิทยานิพนธ์) (ภาษาเยอรมัน). Universität Würzburg. doi:10.25972/opus-34594.
  12. Aaron CK (August 1990). "Sympathomimetics". Emerg Med Clin North Am. 8 (3): 513–526. doi:10.1016/S0733-8627(20)30256-X. PMID 2201518.
  13. "อย.ยกฐานะ"ซูโดอีเฟดรีน"เป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-04. สืบค้นเมื่อ 2012-04-05.