ไปยาลน้อย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ
ไปยาลน้อย
วรรคตอน
อะพอสทรอฟี   '
วงเล็บ [ ]  ( )  { }  ⟨ ⟩
ทวิภาค :
จุลภาค ,  ،  
จุดไข่ปลา   ...  . . .      
อัศเจรีย์  !
มหัพภาค .
กิลเลอเมต ‹ ›  « »
ยัติภังค์ -
ยัติภาค   
ปรัศนี  ?
อัญประกาศ ‘ ’  “ ”  ' '  " "
อัฒภาค ;
ทับ /    
ตัวแบ่งคำ
อินเตอร์พังก์ ·
เว้นวรรค     
การพิมพ์ทั่วไป
แอมเพอร์แซนด์ &
ดอกจัน *
แอต @
แบ็กสแลช \
เบสิสพอยต์
บุลเลต
แคเรต ^
แดกเกอร์ † ‡ ⹋
องศา °
บุพสัญญา ” 〃
ดับเบิลไฮเฟน = ⸗
อัศเจรีย์กลับหัว ¡
ปรัศนีกลับหัว ¿
เครื่องหมายอ้างอิง
เครื่องหมายคูณ ×
นัมเบอร์, แฮชแท็ก #
นูเมอโร
ออเบอลุส ÷
ตัวบอกลำดับ º ª
สัญลักษณ์ร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)  %
สัญลักษณ์พันละ (เปอร์มิลล์)
พิลโครว์
บวกและลบ + −
บวกหรือลบ ± ∓
ไพรม์     
เซกชัน §
ทิลเดอ, ตัวหนอน ~
อันเดอร์สกอร์ _
เส้นตั้ง |    ¦
ทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ์ ©
กอปปีเลฟต์ 🄯
ลิขสิทธิ์การอัดเสียง
เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ®
เซอร์วิสมาร์ก
เครื่องหมายการค้า
สกุลเงิน
เครื่องหมายสัญลักษณ์สกุลเงิน ¤

؋฿¢$֏ƒ£元 圆 圓 ¥

การพิมพ์เฉพาะทาง
แอสเทอริซึม
ฟลอวรอน
ดัชนี
อินเทอร์รอแบง
วรรคตอนไอเรอนี
ลอซินจ์
ไท
ที่เกี่ยวข้อง
ในภาษาอื่น ๆ
ในภาษาไทย
โคมูตร
ตีนครุ
ไปยาลน้อย
ไปยาลใหญ่ ฯลฯ
ฟองมัน
ไม้ยมก
อังคั่น , ฯะ, , ๚ะ

ไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่งในการเขียนภาษาไทย ใช้ในการย่อคำเพื่อให้เขียนสั้นลง โดยเขียนแต่ส่วนหน้า ละส่วนหลังเอาไว้ แล้วใส่ไปยาลน้อยไว้แทน ยังปรากฏที่มาที่ชัดเจนคือ

คำว่า ไปยาล มาจากคำว่า เปยฺยาล ในภาษาบาลี แปลว่า ย่อ

การใช้[แก้]

เครื่องหมายไปยาลน้อย นิยมใช้ใน 2 ลักษณะด้วยกัน คือ

  1. ใช้กับคำพิเศษบางคำที่นิยมใช้ย่อโดยทั่วไป เช่น
    • ข้าฯ คำเต็มคือ ข้าพเจ้า
    • ฯพณฯ (อ่านว่า พะนะท่าน) ย่อมาจากคำ พณหัว พณหัวเจ้า หรือ พณหัวเจ้าท่าน ใช้กับข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น[1] เคยมีหนังสือเวียนของกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีให้เลิกใช้ เว้นแต่ในกรณีพิเศษอันเกี่ยวกับต่างประเทศเท่านั้น แต่คนยังนิยมใช้กันอยู่[2]
  2. ใช้ย่อคำที่ยาวให้สั้นลง
  3. ใช้บอกวันขึ้นแรมในปฏิทินจันทรคติไทย เช่น
    • อ่านว่า วันศุกร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3
    • ๑๑ ฯ  อ่านว่า วันจันทร์ แรม 11 ค่ำ เดือน 7

นอกจากนี้อาจใช้ในกรณีอื่น ๆ เพื่อย่อคำให้สั้น แต่เมื่ออ่านหรือเขียนคำอ่าน ต้องอ่านคำเต็ม ห้ามเขียนหรืออ่านคำหน้าแล้วต่อด้วยฯ เช่นกรุง-เทพ-ละ กรุงเทพละเด็ดขาด

หมายเหตุ: ไปยาลน้อยไม่ใช่อักษร แต่มักจะจัดรวมไว้ในหมวดหมู่อักษรไทย เพื่อความสะดวกในการดูภาพรวมของอักษรและเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนหนังสือไทย

ไปยาลน้อยในภาษาอื่น[แก้]

ภาษาอื่นที่ใช้ไปยาลน้อยคือภาษาเขมร () การใช้ที่เหมือนกันคือใช้บอกวันขึ้นแรมทางจันทรคติ สำหรับการใช้เพื่อจบประโยค ดูที่ อังคั่น

อีกภาษาที่ใช้ไปยาลน้อยคือภาษาลาว (ຯ) ใช้เพื่อบอกในความและและอื่น ๆ ต่อไปเรื่อย ๆ

อ้างอิง[แก้]

  1. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, หน้า 754
  2. ฯพณฯ - ราชบัณฑิตยสถาน
  3. ณ อยุธยา - บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น.