แอโรฟลอต
![]() | ||||
| ||||
ก่อตั้ง | 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466[1] | |||
---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 | |||
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานนานาชาติคราสโนยัค ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว | |||
สะสมไมล์ | แอโรฟลอต โบนัส | |||
พันธมิตรการบิน | สกายทีม สกายทีมคาร์โก | |||
ขนาดฝูงบิน | 202[2] | |||
จุดหมาย | 146 | |||
สำนักงานใหญ่ | มอสโก รัสเซีย | |||
บุคลากรหลัก | Evgeny Ditrich (ประธานกรรมการ) Mikhail Poluboyarinov (CEO) | |||
เว็บไซต์ | www.aeroflot.com |
แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т; อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเทศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโก
ประวัติ[แก้]
แอโรฟลอตเริ่มต้นในปีค.ศ. 1923 ในสหภาพโซเวียต ประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ของแอโรฟลอตถูกเก็บเป็นความลับเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้นขึ้น และแอโรฟลอตต้องยกเลิกเที่ยวบินไปสหรัฐอเมริกา
ตลอดช่วงทศวรรษ 1960, 70 และ 80 แอโรฟลอตและสายการบินอีสเทิร์น บลอคประสบอุบัติเหตุทางอากาศหลายครั้งเนื่องจากเครื่องบินรัสเซียที่เก่าและประสิทธิภาพต่ำ สิ่งเหล่านี้เป็นรุ่นเดียวที่ แอโรฟลอตและสายการบินเหล่านั้นสามารถใช้ได้ อย่างไรก็ตาม แอโรฟลอตเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในโลกจนถึงช่วงทศวรรษ 1980[3] หลังจากสหภาพโซเวียตสิ้นสุดในปี 2534 แอโรฟลอตเริ่มปรับปรุงฝูงบินของตนให้ทันสมัยและซื้อเครื่องบินตะวันตกเพิ่มเติม เช่น Airbus A300 และ โบอิง 767 จนถึงปี 1991 แอโรฟลอตเริ่มเดินทางไปยังสหรัฐอเมริกา แอโรฟลอตเป็นสมาชิกของกลุ่มพันธมิตรการบินสกายทีม[4] ณ ปีค.ศ. 2015 แอโรฟลอตมีเส้นทางการบินบินไปยัง 150 เมืองใน 52 ประเทศ[5]
จุดหมายปลายทาง[แก้]
พันธมิตรทางการบิน[แก้]
แอโรฟลอตเป็นสมาชิกของสกายทีม[6][7] ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ.2004 และเข้าเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบในเดือนเมษายน ค.ศ.2006[8][9] แม้ว่าแอโรฟลอตจะไม่เป็นไปตามมาตรฐานทั่วไปของพันธมิตรในขณะนั้น แต่สกายทีมมองเห็นศักยภาพในเครือข่ายศูนย์กลางขนาดใหญ่ของสายการบินและตัดสินใจว่าจะชดเชยข้อบกพร่องของสายการบิน[10] บริษัทขนส่งสินค้าของแอโรฟลอต แอโรฟลอต-คาร์โก้ ซึ่งต่อมาได้รวมเข้ากับบริษัทแม่อีกครั้ง โดยดำเนินการเป็นส่วนหนึ่งของ สกายทีม คาร์โก้[11]
การทำการบินร่วม[แก้]
ณ เดือนตุลาคม ค.ศ.2019 , แอโรฟลอตมีการทำการบินร่วมการสายการบินดังต่อไปนี้[12]
- แอโรลีเนียสอาร์เจนตินา[13]
- แอโรแม็กซิโก[14][15]
- แอร์ยูโรปา
- แอร์ฟรานซ์
- แอร์มัลตา
- แอร์เซอร์เบีย
- แอร์บอลติก
- ออโรรา
- บางกอกแอร์เวย์[16]
- บรัซเซลล์แอร์ไลน์[17][18][19]
- บัลแกเรียแอร์
- ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- ไชน่าเซาท์เทิร์น[20]
- เช็กแอร์ไลน์
- เดลต้าแอร์ไลน์
- เอทิฮัด[21]
- ฟินน์แอร์
- การูดาอินโดนีเซีย
- ไอซ์แลนด์แอร์
- เจแปนแอร์ไลน์[22]
- เคนยาแอร์เวย์
- เคแอลเอ็ม
- โคเรียนแอร์[23]
- ล็อตโปแลนด์[24]
- เอ็มไอเอที มองโกเลียน แอร์ไลน์
- โรซิยาห์แอร์ไลน์
- เอสเซเว่นแอร์ไลน์
- ซาอุเดีย
- ทารอม
- เวียดนามแอร์ไลน์[25][26][27]
ฝูงบิน[แก้]
ณ เดือนมกราคม ค.ศ. 2022 แอโรฟลอตมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ที่นั่ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
B | C | E | ทั้งหมด | ||||
แอร์บัส เอ320-200 | 60 | — | 20 | — | 120 | 140 | ลำหนึ่งมีลวดลาย 1950s เรทโทร [28] ลำหนึ่งมีลวดลาย "สกายทีม" สองลำมีลวดลาย "PFC CSKA Moskva" [29] |
8 | 150 | 158 | |||||
แอร์บัส เอ320นีโอ | 6 | — | เริ่มส่งมอบในปีค.ศ. 2021.[30] | ||||
แอร์บัส เอ321-200 | 33 | — | 28 | — | 142 | 170 | ลำหนึ่งมีลวดลาย "แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด" [31] ลำหนึ่งมีลวดลาย "95 ปี jubilee" [32] |
16 | 167 | 183 | |||||
แอร์บัส เอ321นีโอ | 3 | — | 12 | — | 184 | 196[33] | เริ่มส่งมอบในปีค.ศ. 2021.[34] |
แอร์บัส เอ330-200 | 2 | — | 30 | — | 199 | 229 | |
34 | 207 | 241 | |||||
แอรบัส เอ330-300 | 12 | — | 28 | — | 268 | 296 | ลำหนึ่งมีลวดลาย "สกายทีม" [35] |
36 | 265 | 301 | |||||
แอร์บัส เอ350-900 | 6 | 16 | 28 | 24 | 264 | 316[36] | เริ่มต้นส่งมอบในปีค.ศ. 2020 ถึง 2023.[37] |
โบอิ้ง 737-800 | 37 | — | 20 | — | 138 | 158[38] | ลำหนึ่งมีลวดลาย "สกายทีม" [39] ทั้งหมดจะถูกโอนย้ายไปยัง สายการบินโพบีลา[40] |
โบอิ้ง 777-300อีอาร์ | 22 | — | 30 | 48 | 324 | 402 | Deliveries from 2018 to 2021.[41] ลำหนึ่งมีลวดลาย "สกายทีม" [42] |
เอียร์ครุต เอ็มซี-21 | — | 50 | 16 | — | 159 | 175[43] | [44] |
ซุคฮอย ซุเปอร์เจ็ต100-95 | 13 | 95[45] | 12 | — | 75 | 87 | ลำหนึ่งมีลวดลาย "สกายทีม" [35] ทั้งหมดจะถูกโออนย้ายไปยัง โรซิย่าแอร์ไลน์[40][46][47] |
รวม | 194 | 161 |
อายุการใช้งานเฉลี่ยของฝูงบินของแอโรฟลอต คือ 6.7 ปี
อ้างอิง[แก้]
- ↑ [1] เก็บถาวร 2009-01-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Aeroflot official website
- ↑ [2] เว็บไซต์ทางการแอโรฟลอต
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-03. สืบค้นเมื่อ 2022-01-05.
- ↑ http://sputniknews.com/business/20150609/1023107419.html
- ↑ http://www.aeroflot.com/cms/en/about/company_profile
- ↑ https://web.archive.org/web/20140620140051/http://www.themoscowtimes.com/business/article/aeroflot-becomes-10th-airline-to-join-skyteam/205560.html
- ↑ https://web.archive.org/web/20121014005440/http://www.kommersant.com/p-11187/r_500/Aeroflot_top
- ↑ https://web.archive.org/web/20100106065928/http://skyteam.com/news/headlines/20040524.html
- ↑ https://web.archive.org/web/20140811120333/http://www.bizjournals.com/atlanta/stories/2004/05/24/daily3.html
- ↑ "Aeroflot eyes Sky Team membership". BBC News. 29 January 2004. Archived from the original on 2 April 2015. Retrieved 28 June 2012.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-09. สืบค้นเมื่อ 2022-01-05.
- ↑ Liu, Jim (21 December 2019). "Aeroflot / AeroMexico begins codeshare partnership from late-Dec 2018". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 11 January 2019.
- ↑ Liu, Jim (26 April 2019). "Aeroflot / AeroMexico expands codeshare network from April 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 26 April 2019.
- ↑ Liu, Jim (25 April 2019). "Aeroflot expands Bangkok Airways codeshare to Vietnam from April 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 25 April 2019.
- ↑ "Aeroflot to Codeshare with Brussels Airlines".
- ↑ "Brussels Airlines to codeshare with Aeroflot".
- ↑ "Aeroflot and Brussels Airlines sign codeshare agreement".
- ↑ Liu, Jim (20 July 2018). "China Southern expands Aeroflot European codeshare network from July 2018". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
- ↑ "Etihad Airways перейдет из "Домодедово" в "Шереметьево"". InterFax. 8 November 2021.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Aeroflot and Japan Airlines Agree on Codeshare Partnership". press.jal.co.jp. 10 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ Liu, Jim (16 July 2018). "Correction: Korean Air / Aeroflot extends codeshare partnership from July 2018". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
- ↑ Liu, Jim (8 July 2019). "Aeroflot / LOT Polish expands codeshare network from July 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 8 July 2019.
- ↑ "Aeroflot and Vietnam Airlines start code-share programme". RusAviaInsider. 13 June 2019.
- ↑ "Aeroflot Launches Codeshare Partnership with Vietnam Airlines". RusAviaInsider. 13 June 2019.
- ↑ Liu, Jim (26 June 2019). "Aeroflot / Vietnam Airlines begins codeshare partnership from June 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 26 June 2019.
- ↑ Drum, Bruce (31 May 2013). "Aeroflot puts its Airbus A320 1956 retrojet into revenue service". World Airline News. สืบค้นเมื่อ 19 August 2016.
- ↑ "A320 with CSKA Moscow livery joins Aeroflot fleet". 26 July 2016.
- ↑ "Aeroflot adds first A320neo to fleet". Aeroflot (Press release). 25 May 2021.
- ↑ "Aeroflot unveils Manchester United livery on new Airbus A321". 23 December 2013.
- ↑ "ФОТО: A321 "Аэрофлота" к 95-летию авиакомпании получил специальную ливрею". ato.ru. 3 May 2018.
- ↑ Liu, Jim (18 February 2020). "Aeroflot schedules A321neo Dubai al Maktoum service in Oct 2020". routesonline.com.
- ↑ "Aeroflot takes first A321neo, secures $320mn loan". Ch-Aviation. 2 June 2021.
- ↑ 35.0 35.1 "SkyTeam livery fact sheet" (PDF). SkyTeam. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 August 2016.
- ↑ Liu, Jim (19 June 2019). "Aeroflot outlines A350 long-haul service in S20". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
- ↑ Public Joint Stock Company Aeroflot - Russian Airlines: Condensed Consolidated Interim Financial Statements as at and for the 6 months ended 30 June 2017 (PDF) (Report). Moscow: Aeroflot. 29 August 2017. p. 13. สืบค้นเมื่อ 26 December 2017.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อAircraft News-July 9, 2015
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อplane_park
- ↑ 40.0 40.1 "Aeroflot Group's new strategy gains traction". Russian Aviation Insider. 31 May 2021.
- ↑ "Russian airline orders six 777s, helping bridge Boeing's delivery gap". The Seattle Times. 24 September 2017.
- ↑ "Aeroflot paints new Boeing 737-800 in SkyTeam livery". 16 February 2017.
- ↑ ""Аэрофлот" получит первые МС-21 в конце 2018 года". ТАСС. สืบค้นเมื่อ 11 June 2016.
- ↑ "Aeroflot to sign firm order with Rostec for 50 of the latest Russian-built MC-21 aircraft". Aeroflot (Press release). 1 February 2018.
- ↑ "Aeroflot Sukhoi Superjet 100 fleet grows to 50 russian regional aircraft". Russian Aviation Insider (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 24 September 2018.
- ↑ "Rossiya To Take All Of Aeroflot's Sukhoi SJ100s By 2022". Simple Flying. 30 November 2020.
- ↑ "Aeroflot's Fleet In 2021". Simple Flying. 20 June 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: แอโรฟลอต |
- แอโรฟลอต ประเทศไทย เก็บถาวร 2005-04-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Aeroflot
![]() |
บทความเกี่ยวกับบริษัท ห้างหุ้นส่วน หรือองค์กรนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |