วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2022

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2022
โบโลญญา เมืองเจ้าภาพรอบสุดท้าย
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
เมืองโบโลญญา (รอบสุดท้าย)
วันที่7 มิถุนายน – 24 กรกฎาคม
ทีม16 (จาก 4 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 7 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
อันดับที่ 3ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
อันดับที่ 4ธงชาติอิตาลี อิตาลี
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าฝรั่งเศส แอร์วีน แอนกาแป็ต
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยมสหรัฐ ไมคาห์ คริสเตนสัน
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมฝรั่งเศส เทรวอร์ เกลฟว์น็อต
ฝรั่งเศส แอร์วีน แอนกาแป็ต
ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยมโปแลนด์ มาแตอุช บีแยแญก
สหรัฐ เดวิด สมิท
ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยมฝรั่งเศส ฌ็อง ปาทรี
ตัวรับอิสระยอดเยี่ยมฝรั่งเศส เจเนีย เกรเบนนีคอฟ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน104
ผู้ชม295,262 (2,839 คนต่อนัด)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
Volleyball Nations League

วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIVB Volleyball Men's Nations League) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 4 ของวอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก ซึ่งเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับนานาชาติประจำปี การแข่งขันรอบแรกมีกำหนดจัดขึ้นห้าสัปดาห์ระหว่างวันที่ 7 มิถุนายน ถึง 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 และรอบสุดท้ายมีกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 ถึง 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2022[1]

ทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]

ด้านล่างนี่คือ 16 ทีมที่เข้าร่วมแข่งขันเนชันส์ลีก 2022 เนื่องจากไม่มีการเลื่อนชั้นหรือตกชั้นของครั้งที่แล้ว ดังนั้นทั้ง 16 ทีมยังคงได้สิทธิ์เข้าแข่งขันดังเดิม[2] โดยตัวเลขในวงเล็บเป็นอันดับโลกจากเอฟไอวีบี

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2022 เอฟไอวีบีได้ประกาศตัดสิทธิ์ทีมชาติรัสเซียและทีมชาติเบลารุสในการเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติและระดับทวีปเนื่องจากการรุกรานยูเครนของรัสเซีย ส่งผลให้รัสเซียไม่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันและจีนได้เข้าแข่งขันแทน[3][4]

การคัดเลือก ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
ทีมหลัก ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (6)
ธงชาติบราซิล บราซิล (1)
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (4)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (16)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (10)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี (5)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (11)
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ (2)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (3)
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย (9)
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (7)
ทีมท้าทาย ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (31)
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย (21)
ธงชาติแคนาดา แคนาดา (12)
ธงชาติจีน จีน (22)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (15)
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย (8)

การแบ่งกลุ่ม[แก้]

การแบ่งกลุ่มได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2021[5] กลุ่มที่ 6 เดิมจะจัดขึ้นในเคเมโรโว ประเทศรัสเซีย เนื่องด้วยสถานการณ์ความขัดแย้งของรัสเซีย และยูเครน ที่รุนแรงมากขึ้น ทำให้สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศได้ตัดสินใจที่จะประกาศยกเลิกการเป็นเจ้าภาพในสนามนี้[6]

รอบแรก[แก้]

สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3
กลุ่มที่ 1
บราซิล
กลุ่มที่ 2
แคนาดา
กลุ่มที่ 3
ฟิลิปปินส์
กลุ่มที่ 4
บัลแกเรีย
กลุ่มที่ 5
ญี่ปุ่น
กลุ่มที่ 6
โปแลนด์

ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติจีน จีน
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ

ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย

ธงชาติจีน จีน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย

ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ

ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ

ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติจีน จีน
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย

รูปแบบการแข่งขัน[แก้]

รอบแรก

การแข่งขันรอบแรกประกอบไปด้วย 16 ทีม จะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ทีม ซึ่งแต่ละทีมจะแข่งขันทั้งหมด 12 นัด (4 นัดต่อสัปดาห์) โดยจะแข่งขันสลับกันกับทีมหญิงเป็นเวลาสามสัปดาห์ การแข่งขันจัดขึ้นทุกวันตั้งแต่วันอังคารถึงวันอาทิตย์ในแต่ละสัปดาห์[7]

รอบสุดท้าย

การแข่งขันรอบสุดท้าย 8 ทีมที่ผ่านการคัดเลือกจะต้องทำการแข่งขันแบบรอบแพ้คัดออก ซึ่งประกอบด้วยการแข่งขันทั้งหมด 8 นัด ได้แก่: รอบก่อนรองชนะเลิศ 4 นัด, รอบรองชนะเลิศ 2 นัด และรอบชิงเหรียญทองแดงและชิงเหรียญทอง

สนามแข่งขัน[แก้]

รอบแรก[แก้]

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
บราซิเลีย, บราซิล ออตตาวา, แคนาดา เกซอนซิตี, ฟิลิปปินส์
Nilson Nelson Gymnasium TD Place Arena Araneta Coliseum
ความจุ: 11,105 ความจุ: 9,500 ความจุ: 16,035
กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6
โซเฟีย, บัลแกเรีย โอซากะ, ญี่ปุ่น กดัญสก์, โปแลนด์
Armeets Arena ศูนย์กีฬาในร่มกลางเทศบาลโอซากะ Ergo Arena
ความจุ: 15,373 ความจุ: 10,000 ความจุ: 11,200

รอบสุดท้าย[แก้]

ทุกแมตช์
โบโลญญา, อิตาลี
Unipol Arena
ความจุ: 11,000

ปฏิทินการแข่งขัน[แก้]

รอบแรก รอบสุดท้าย
สัปดาห์ที่ 1
7–12 มิ.ย.
สัปดาห์ที่ 2
21–26 มิ.ย.
สัปดาห์ที่ 3
5–10 ก.ค.
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์พักผ่อน
สัปดาห์ที่ 5
20–24 ก.ค.
32 นัด 32 นัด 32 นัด 8 นัด

รอบแรก (Preliminary round)[แก้]

ผ่านเข้าสู่ รอบสุดท้าย
ผ่านเข้าสู่ รอบสุดท้าย เนื่องจากได้สิทธิ์การเป็นเจ้าภาพรอบสุดท้าย
ตกชั้นสู่ แชลเลนเจอร์คัพ 2022

ตารางคะแนน[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 10 2 31 32 9 3.556 986 872 1.131
2 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 10 2 31 33 10 3.300 1031 898 1.148
3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 10 2 27 31 16 1.938 1102 975 1.130
4 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 9 3 28 31 11 2.818 994 826 1.203
5 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 9 3 27 29 18 1.611 1092 997 1.095
6 ธงชาติบราซิล บราซิล 8 4 24 26 14 1.857 960 881 1.090
7 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 7 5 20 22 19 1.158 961 923 1.041
8 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 6 6 17 20 21 0.952 915 932 0.982
9 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 5 7 18 24 26 0.923 1110 1117 0.994
10 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 5 7 15 18 24 0.750 917 963 0.952
11 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 5 7 14 19 27 0.704 1010 1043 0.968
12 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 4 8 10 18 29 0.621 969 1103 0.879
13 ธงชาติจีน จีน 3 9 9 14 28 0.500 840 951 0.883
14 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 2 10 9 16 31 0.516 990 1087 0.911
15 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 2 10 6 10 33 0.303 887 1022 0.868
16 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 11 2 8 35 0.229 858 1032 0.831

สัปดาห์ที่ 1[แก้]

กลุ่มที่ 1[แก้]

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC−03:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 มิ.ย. 18:00 จีน ธงชาติจีน 1–3 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 15–25 25–19 22–25 15–25   77–94 P2 รายงาน
7 มิ.ย. 21:00 สโลวีเนีย ธงชาติสโลวีเนีย 0–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 19–25 19–25 14–25     52–75 P2 รายงาน
8 มิ.ย. 18:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 22–25 26–24 25–22 25–17   98–88 P2 รายงาน
8 มิ.ย. 21:00 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–14 25–18 25–21     75–53 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 15:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–1 ธงชาติจีน จีน 21–25 25–19 25–19 25–18   96–81 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 18:00 เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 0–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 12–25 18–25 16–25     46–75 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 21:00 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–1 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 25–21 21–25 25–20 25–16   96–82 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 15:00 เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 3–0 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 26–24 25–21 25–21     76–66 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 18:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 2–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 25–17 15–25 21–25 28–26 9–15 98–108 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 21:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 22–25 20–25 21–25     63–75 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 15:00 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 3–1 ธงชาติบราซิล บราซิล 21–25 27–25 25–20 25-20   98–75 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 18:00 สโลวีเนีย ธงชาติสโลวีเนีย 3–1 ธงชาติจีน จีน 25–15 25–20 18–25 27–25   95–85 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 21:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 3–1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–14 25–22 18–25 25–15   93–76 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 10:00 บราซิล ธงชาติบราซิล 0–3 ธงชาติจีน จีน 23–25 29–31 23–25     75–81 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 13:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 0–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 20–25 14–25 19–25     53–75 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 16:00 เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–20 25–15 25–23     75–58 P2 รายงาน

กลุ่มที่ 2[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 มิ.ย. 16:30 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 1–3 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 25–19 19–25 22–25 20–25   86–94 P2 รายงาน
7 มิ.ย. 19:30 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 0–3 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 19–25 20–25 28–30     67–80 P2 รายงาน
8 มิ.ย. 16:30 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–0 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–21 25–22 25–23     75–66 P2 รายงาน
8 มิ.ย. 19:30 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–0 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 25–22 26–24 25–19     76–65 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 11:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 1–3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–18 22–25 17–25 20–25   84–93 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 16:30 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 1–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 25–21 22–25 23–25 23–25   93–96 P2 รายงาน
9 มิ.ย. 19:30 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 1–3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 25–21 23–25 20–25 20–25   88–96 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 11:00 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 3–2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–16 25–18 17–25 12–25 15–6 94–90 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 16:30 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 2–3 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 20–25 25–22 16–25 25–20 10–15 96–107 P2 รายงาน
10 มิ.ย. 19:30 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–0 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 25–16 25–23 25–21     75–60 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 13:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 3–2 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 27–25 25–27 18–25 28–26 18–16 116–119 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 16:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 0–3 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 19–25 19–25 23–25     61–75 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 19:00 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 0–3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 21–25 18–25 19–25     58–75 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 11:00 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 1–3 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 25–21 22–25 21–25 22–25   90–96 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 14:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 1–3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 20–25 21–25 25–16 28–30   94–96 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 17:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 2–3 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 18–25 18–25 26–24 25–21 11–15 98–110 P2 รายงาน

สัปดาห์ที่ 2[แก้]

กลุ่มที่ 3[แก้]

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+08:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
21 มิ.ย. 15:00 สโลวีเนีย ธงชาติสโลวีเนีย 0–3 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 17–25 21–25 24–26     62–76 P2 รายงาน
21 มิ.ย. 19:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 1–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 25–27 18–25 25–17 16–25   84–94 P2 รายงาน
22 มิ.ย.[1] 15:00 จีน ธงชาติจีน 0–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0–25 0–25 0–25     0–75 รายงาน
22 มิ.ย. 19:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 0–3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 16–25 21–25 22–25     59–75 P2 รายงาน
23 มิ.ย. 11:00 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–0 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 25–14 25–23 25–13     75–50 P2 รายงาน
23 มิ.ย.[2] 15:00 จีน ธงชาติจีน 3–0 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 25–0 25–0 25–0     75–0 รายงาน
23 มิ.ย. 19:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 1–3 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 20–25 29–27 18–25 17–25   84–102 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 11:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 1–3 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 25–22 29–31 23–25 16–25   93–103 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 15:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติจีน จีน 25–22 22–25 25–22 25–22   97–91 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 19:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–2 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 25–20 21–25 24–26 25–19 15–13 110–103 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 11:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 2–3 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 25–22 23–25 25–20 19–25 13–15 105–107 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 15:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 0–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 22–25 25–27 16–25     63–77 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 19:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–0 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 25–19 25–16 25–21     75–56 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 11:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 1–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 16–25 19–25 25–19 21–25   81–94 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 15:00 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–1 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 25–21 22–25 25–18 25–19   97–83 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 19:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–0 ธงชาติจีน จีน 25–21 25–18 25–19     75–58 P2 รายงาน
1.^ ทีมชาติจีนถูกปรับแพ้ในการแข่งขันเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน เนื่องด้วยเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวข้องกับโควิด-19 ทำให้ทีมชาติฝรั่งเศสเป็นฝ่ายชนะ 3–0[8]
2.^ ทีมชาติเยอรมนีถูกปรับแพ้ในการแข่งขันเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ทำให้ทีมชาติจีนชนะ 3–0 หลังจากที่เยอรมนีปฏิเสธที่จะลงเล่นกับจีน แม้ว่านักกีฬาจีนจะผ่านการตรวจโควิด-19 แล้วก็ตาม[9]

กลุ่มที่ 4[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
21 มิ.ย. 17:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 1–3 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 25–18 26–28 19–25 22–25   92–96 P2 รายงาน
21 มิ.ย. 20:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 0–3 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 19–25 23–25 24–26     66–76 P2 รายงาน
22 มิ.ย. 17:00 บราซิล ธงชาติบราซิล 1–3 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 16–25 25–22 16–25 22–25   79–97 P2 รายงาน
22 มิ.ย. 20:00 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 1–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 24–26 25–23 23–25 20–25   92–99 P2 รายงาน
23 มิ.ย. 13:30 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–0 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 25–16 25–18 25–16     75–50 P2 รายงาน
23 มิ.ย. 16:30 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 18–25 24–26 17–25     59–76 P2 รายงาน
23 มิ.ย. 20:00 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 0–3 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 18–25 27–29 25–27     70–81 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 13:30 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 3–2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 20–25 19–25 25–20 26–24 15–11 105–105 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 16:30 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 28–30 23–25 19–25     70–80 P2 รายงาน
24 มิ.ย. 20:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 3–2 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 21–25 25–13 25–22 20–25 17–15 108–100 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 13:30 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 0–3 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 21–25 25–27 18–25     64–77 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 16:30 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–17 25–19 25–14     75–50 P2 รายงาน
25 มิ.ย. 20.00 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 3–1 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 25–12 20–25 26–24 25–23   96–84 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 13:30 เซอร์เบีย ธงชาติเซอร์เบีย 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–17 25–20 25–22     75–59 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 16.30 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 1–3 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 25–21 23–25 24–26 22–25   94–97 P2 รายงาน
26 มิ.ย. 20:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 21–25 19–25 22–25     62–75 P2 รายงาน

สัปดาห์ที่ 3[แก้]

กลุ่มที่ 5[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
5 ก.ค. 15:00 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 3–1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 25–21 25–19 22–25 25–18   97–83 P2 รายงาน
5 ก.ค. 18:00 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 1–3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 21–25 25–23 21–25 23–25   90–98 P2 รายงาน
6 ก.ค. 15:40 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 25–27 25–17 25–20 25–19   100–83 P2 รายงาน
6 ก.ค. 19:10 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–18 25–15 23–25 25–19   98–77 P2 รายงาน
7 ก.ค. 12:00 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 2–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 25–15 22–25 25–22 14–25 8–15 94–102 P2 รายงาน
7 ก.ค. 15:00 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 3–1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 20–25 25–16 25–21 26–24   96–86 P2 รายงาน
7 ก.ค. 18:00 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 18–25 19–25 16–25     53–75 P2 รายงาน
8 ก.ค. 12:40 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 21–25 25–23 25–19 25–15   96–82 P2 รายงาน
8 ก.ค. 15:40 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–0 ธงชาติบราซิล บราซิล 25–21 25–22 25–21     75–64 P2 รายงาน
8 ก.ค. 19:10 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 3–1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 25–20 25–16 22–25 25–20   97–81 P2 รายงาน
9 ก.ค. 12:40 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 1–3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 22–25 25–23 23–25 19–25   89–98 P2 รายงาน
9 ก.ค. 15:40 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 0–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 19–25 15–25 19–25     53–75 P2 รายงาน
9 ก.ค. 19:10 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 1–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 25–23 22–25 20–25 20–25   87–98 P2 รายงาน
10 ก.ค. 12:40 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 3–2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 29–27 22–25 20–25 25–13 17–15 113–105 P2 รายงาน
10 ก.ค. 15:40 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 16–25 12–25 26–28     54–78 P2 รายงาน
10 ก.ค. 19:10 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 25–23 25–23 25–22     75–68 P2 รายงาน

กลุ่มที่ 6[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
5 ก.ค. 17:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 0–3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 15–25 20–25 23–25     58–75 P2 รายงาน
5 ก.ค. 20:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 3–2 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 21–25 25–23 25–22 25–27 15–7 111–104 P2 รายงาน
6 ก.ค. 17:00 เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 3–0 ธงชาติจีน จีน 29–27 25–12 25–13     79–52 P2 รายงาน
6 ก.ค. 20:00 สโลวีเนีย ธงชาติสโลวีเนีย 3–0 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 25–15 25–19 25–23     75–57 P2 รายงาน
7 ก.ค. 14:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–16 25–27 25–23 25–23   100–89 P2 รายงาน
7 ก.ค. 17:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 1–3 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 22–25 25–22 18–25 16–25   81–97 P2 รายงาน
7 ก.ค. 20:00 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–0 ธงชาติจีน จีน 26–24 25–16 25–18     76–58 P2 รายงาน
8 ก.ค. 14:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 3–1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 22–25 25–16 25–21 25–21   97–83 P2 รายงาน
8 ก.ค. 17:00 สโลวีเนีย ธงชาติสโลวีเนีย 0–3 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 24–26 14–25 21–25     59–76 P2 รายงาน
8 ก.ค. 20:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–0 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 25–21 25–14 25–23     75–58 P2 รายงาน
9 ก.ค. 14:00 จีน ธงชาติจีน 3–1 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 26–28 25–23 25–23 25–17   101–91 P2 รายงาน
9 ก.ค. 17:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 3–0 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 35–33 25–21 25–12     85–66 P2 รายงาน
9 ก.ค. 20:00 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–0 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 25–19 25–23 25–22     75–64 P2 รายงาน
10 ก.ค. 14:00 จีน ธงชาติจีน 1–3 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 17–25 17–25 25–23 22–25   81–98 P2 รายงาน
10 ก.ค. 17:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–0 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 25–23 26–24 25–21     76–68 P2 รายงาน
10 ก.ค. 20:00 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–1 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 25–14 25–23 23–25 25–17   98–79 P2 รายงาน

รอบสุดท้าย[แก้]

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
20 กรกฎาคม
 
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี3
 
23 กรกฎาคม
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์1
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี0
 
21 กรกฎาคม
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส3
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส3
 
24 กรกฎาคม
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น0
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส3
 
21 กรกฎาคม
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ2
 
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์3
 
23 กรกฎาคม
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน2
 
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์0
 
20 กรกฎาคม
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ3 รอบชิงอันดับที่ 3
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ3
 
24 กรกฎาคม
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี0
 
 
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์3
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 ก.ค. 18:00 สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ 3–1 ธงชาติบราซิล บราซิล 20–25 25–22 25–23 25–17   95–87 P2 รายงาน
20 ก.ค. 21:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 3–1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 21–25 25–22 25–13 25–22   96–82 P2 รายงาน
21 ก.ค. 18:00 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–0 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 26–24 25–16 25–20     76–60 P2 รายงาน
21 ก.ค. 21:00 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 3–2 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–21 24–26 25–18 16–25 15–7 105–97 P2 รายงาน

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 ก.ค. 18:00 โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 0–3 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 22–25 23–25 13–25     58–75 P2 รายงาน
23 ก.ค. 21:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 0–3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 22–25 20–25 15–25     57–75 P2 รายงาน

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 ก.ค. 18:00 อิตาลี ธงชาติอิตาลี 0–3 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 16–25 23–25 20–25     59–75 P2 รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 ก.ค. 21:00 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 3–2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 25–16 25–19 15–25 21–25 15–10 101–95 P2 รายงาน

อันดับการแข่งขัน[แก้]

รางวัล[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Volleyball World Announces Host Cities For 2022 Volleyball Nations League". FIVB. December 7, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-08. สืบค้นเมื่อ December 7, 2021.
  2. "News detail - FIVB announces cancellation of Volleyball Challenger Cup 2021". en.volleyballworld.com. สืบค้นเมื่อ 2022-02-25.
  3. "FIVB Declares Russia And Belarus Not Eligible For International And Continental Competitions". FIVB. March 1, 2022. สืบค้นเมื่อ March 12, 2022.
  4. "China Men's National Team Returns To Volleyball Nations League Line-Up". FIVB. April 29, 2022. สืบค้นเมื่อ April 29, 2022.
  5. "Volleyball World Announces Host Cities For 2022 Volleyball Nations League". Fédération Internationale de Volleyball. 7 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  6. "FIVB Removes VNL From Russia".
  7. volleyballworld.com (November 17, 2021). "Volleyball World welcomes host city applications for Volleyball Nations League Finals 2022". Volleyball World. สืบค้นเมื่อ February 8, 2022.
  8. "FIVB and Volleyball World update on COVID-19 protocols at VNL 2022 (Confirmation of cancellation of China vs France men's match)". Volleyball World (ภาษาอังกฤษ). 20 June 2022. สืบค้นเมื่อ 20 June 2022.
  9. "Confirmation of China vs Germany men's match cancellation". Volleyball World. 23 June 2022. สืบค้นเมื่อ 23 June 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]