ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัชฌิมาปฏิปทา"
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
จะเห็นว่าหลักพระพุทธศาสนาในทุกระดับมีเรื่องของความพอดี หรือความเป็นสายกลางนี้ ฉะนั้นความเป็นสายกลาง คือ ความพอดีที่จะให้ถึงจุดหมาย และที่จะให้ตรงกับความจริง ไม่ให้ไปสุดโต่ง เอียงสุด ซึ่งจะพลาดจากตัวความจริงไปนั้น จึงเป็นลักษณะทั่วไปอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นสายกลางทั้งหลักทฤษฎี(มัชเฌนธรรม) และหลักการปฏิบัติ(มัชฌิมาปฏิปทา)
อีกตัวอย่างหนึ่ง มองกว้างออกไปอีกมัชฌิมาปฏิปทาในแนวคิดที่เป็นกฎธรรมชาติ
'''[[ทุกขัง]]''' (ความบีบคั้นทนอยู่ในสภาพเดิม)ของสรรพสิ่ง คือสิ่งทั้งปวงหยุดนิ่งมิได้เหมือนจะต้องระเบิดอยู่ตลอดเวลา อย่างแสงอาทิตย์ต้องวิ่งมาชนโลก โลก จักรวาล กาแล๊คซี่ต้องหมุน ลมต้องพัด เปลือกโลกต้องเคลื่อน ทำให้ธรรมชาติเกิดการปรับสมดุล เช่นเรานอนเฉยๆต้องขยับ หรือวิ่งมากๆต้องหยุด เช่นความร้อนย่อมต่องการสลายตัวไปที่เย็นกว่า ไฟฟ้าในเมฆพายุฝนที่มีมากทิ้งมาที่พื้นโลกจนเกิดฟ้าผ่า ที่ ๆ เป็นสุญญากาศย่อมดึงให้สิ่งที่มีอยู่เข้ามา ความทุกข์เองทำให้เกิดการวิวัฒนาการของสัตว์ พืช เช่นพืชที่ปลูกถี่ๆกันย่อมแย่งกันสูงเพื่อแย่งแสงอาทิตย์ในการอยู่รอด โดยการปรับสมดุลของร่างกายที่จะบริหารหนีทุกข์ของสิ่งมีชีวิต ทำให้เกิด'''[[อิริยาบถ]]'''(การบริหารกายและจิต)ที่สามารถปิดบังกฎทุกขังแห่งไตรลักษณ์ได้ ▼
▲'''[[ทุกขัง]]''' (ความบีบคั้นทนอยู่ในสภาพเดิม)ของสรรพสิ่ง คือสิ่งทั้งปวงหยุดนิ่งมิได้เหมือนจะต้อง
เมื่อสิ่งต่างๆมีผลกระทบต่อกันในด้านต่างๆ จำต้องปรับสมดุลเพื่อรักษาระบบทำให้เกิด'''[[ปฏิจจสมุปบาท|ปัจจยาการ]]'''หรือกฎแห่งหน้าที่ ทำให้มีความเป็นระเบียบของระบบทำงานของร่างกาย เช่น ตับย่อมทำหน้าที่ของตับ ไม่อาจทำหน้าที่เป็นกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เกิด'''[[ฆนะ]]''' ความเป็นก้อน รูปร่าง หรือการเป็นโครงสร้าง ที่ปิดบังกฎ'''[[อนัตตา]]'''แห่งไตรลักษณ์ได้ และถ้าธาตุทั้งสี่ไม่มีกฎแห่งหน้าที่นี้ ที่เป็นเหตุให้ธาตุประกอบกันเป็นร่างกาย ร่างกายย่อมต้องแตกแยกสลายไป สิ่งทั้งปวงไม่มีตัวตนอยู่เองโดยไม่เกี่ยวเนี่ยวกับใคร มีตัวตนเพราะอาศัยปัจจัยต่างๆประกอบกันขึ้น เช่น ต้นไม้ย่อมอาศัยแสง ดิน น้ำ แร่ธาตุ ราก ใบ กิ่ง แก่น ลำต้น อากาศ ทำให้ดำรงอยู่ได้ สิ่งทั้งปวงย่อมเกี่ยวเนี่องซึ่งกันและกัน อย่างร่างกายของเราย่อมเกิดจากความเกี่ยวข้องกันเล็กๆน้อยและเพิ่มขึ้นซับซ้อนพัฒนาขึ้น เพราะการปรับสมดุลของธรรมชาติ ตามหลักมัชเฌนธรรม▼
▲'''[[อนัตตา]]'''สิ่งทั้งปวงไม่มีตัวตนเป็น มีตัวตนเพราะอาศัยปัจจัยต่างๆประกอบกันขึ้น ทำให้ดำรงอยู่ได้ สิ่งทั้งปวงย่อมเกี่ยวเนี่องซึ่งกันและกัน เมื่อสิ่งต่างๆมีผลกระทบต่อกันในด้านต่างๆ จำต้องปรับสมดุลเพื่อรักษาระบบทำให้เกิดกฎ'''[[ปฏิจจสมุปบาท|ปัจจยาการ]]'''หรือกฎแห่งหน้าที่ ทำให้มีความเป็นระเบียบของระบบทำงานของร่างกาย
หลักมัชเฌนธรรมจัดได้ว่าเป็นกฎแห่งพีชนิยามของนิยามทั้ง5▼
▲หลักมัชเฌนธรรมจัดได้ว่าเป็นกฎแห่งพีชนิยามของ[[ธรรมนิยาม|นิยาม]]ทั้ง5
#อนิจจัง (ความไม่เที่ยงแท้แน่นอน) ทำให้เกิดกฎวัฏฏะ(การหมุนวนเวียน)ทำให้มีสันตติ(การสืบต่อ)ที่ปิดบังอนิจจัง และกฎอนิจจังจะทำลายกฎวัฏฏะในที่สุด
#
#อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) ทำให้เกิดกฎปัจจยาการ (การมีระบบระเบียบของโครงสร้าง)ทำให้มี ฆนะ(ความเป็นก้อน,รูปร่าง,โครงสร้าง)ที่ปิดบังอนัตตา และกฎอนัตตาจะทำลายกฎชีวิตาในที่สุด<ref>พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑ ปัจจัย ๒๔</ref>
== ดูเพิ่ม ==
|