ฆนะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฆนะ คือ สิ่งที่เนื่องกันอยู่ ท่านได้แบ่งฆนะ ออกเป็น 4 อย่าง คือ สันตติฆนะ สมูหฆนะ กิจจฆนะ อารัมมณฆนะ[1].

  • สันตติฆนะ คือ ขันธ์ 5 (ปรมัตถ์) ที่เกิดดับสืบเนื่องกันไปไม่ขาดสาย, ซึ่งเร็วจนดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 ไม่มีอะไรเกิดดับ (บัญญัติ).
  • สมูหฆนะ คือ ขันธ์ 5 (ปรมัตถ์) ที่เกิดร่วมกันสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกัน, จนดูราวกะว่า ขันธ์ทั้ง 5 เป็นกลุ่มก้อน เป็นหนึ่งเดียวกัน (บัญญัติ).
  • กิจจฆนะ คือ ขันธ์ 5 (ปรมัตถ์) ที่มีกิจรสคือหน้าที่แตกต่างกันออกไป, ซึ่งหากไม่มีปัญญาก็อาจดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 มีกิจอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงกิจเดียว (บัญญัติ).
  • อารัมมณฆนะ คือ ขันธ์ 4 (ปรมัตถ์) ที่จำแนกการทำให้เป็นอารมณ์ออกได้หลายอย่าง, แต่ผู้ไม่มีปัญญาจะถือเอาว่า จิตทำให้เป็นอารมณ์ได้แบบเดียว (บัญญัติ)[2][3].

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1. กสิภารทฺวาชสุตฺตวณฺณนา - 1. กสิภารทฺวาชสุตฺตวณฺณนา - -15- สารตฺถปฺปกาสินี-อฏฐถกถา 1 สคาถวคฺค-อฏฺฐกถา (พุทฺธโฆส) - สํ.อฏฺ. 1 ข้อ 197
  2. 14. เอตทคฺควคฺโค - 18. อปรอจฺฉราสงฺฆาตวคฺควณฺณนา -20-(1)- สารตฺถมญฺชูสา 1 องฺคุตฺตรนิกายฎีกา เอกกนิปาตฎีกา (สารีปุตฺต) - อํ.ฏี. 2 ข้อ 453
  3. 1. กสิภารทฺวาชสุตฺตวณฺณนา - 1. กสิภารทฺวาชสุตฺตวณฺณนา - -15- ลีนตฺถปฺปกาสนา 1 สคาถวคฺคฎีกา (ธมฺมปาล) - สํ.ฏี. 1 ข้อ 197