ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Justincheng12345-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: zh:蘊 (佛教)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
#'''[[วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)|วิญญาณ]]''' ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
#'''[[วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)|วิญญาณ]]''' ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทมา,สัญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็น[[นาม]]ธรรม
ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็น[[นาม]]ธรรม
เมื่อจัดขันธ์เข้าใน[[ปรมัตถธรรม]]
เมื่อจัดขันธ์เข้าใน[[ปรมัตถธรรม]]
*วิญญาณขันธ์ จัดเข้าใน[[จิต]]
*วิญญาณขันธ์ จัดเข้าใน[[จิต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:19, 4 มกราคม 2556

ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของคนเรา คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ

  1. รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต
  2. เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
  3. สัญญา ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
  4. สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
  5. วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม

  • วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
  • เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
  • รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
  • การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน

อ้างอิง