ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหีศาสกะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า นิกายมหิสาสกวาท ไปยัง มหีศาสกะ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธ}}
{{พุทธ}}
'''นิกายมหิสาสกวาท'''หรือ'''นิกายมหิศาสกวาท''' เป็นนิกายที่หลักฐานฝ่ายบาลีกล่าวว่าแยกมาจาก[[เถรวาท]] ส่วนหลักฐานฝ่ายสันสกฤตกล่าวว่าแยกมาจาก[[นิกายสรวาสติวาท]] อาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของนิกายนี้เป็น[[พราหมณ์]] เมื่อมาบวชได้นำหลักธรรมใน[[พระเวท]]มาผสมกับพระพุทธพจน์ แพร่หลายทางภาคตะวันตกและภาคใต้ของ[[อินเดีย]] โดยเฉพาะแคว้นอวันตี วนวาสี มหาสมณฑล เกรละ และมีอิทธิพลในลังกาด้วย พระพุทธชีวะได้แปลวินัยของนิกายนี้เป็น[[ภาษาจีน]]
'''นิกายมหิสาสกวาท''' หรือ '''นิกายมหีศาสกะ''' เป็น[[นิกายในศาสนาพุทธ]]ฝ่าย[[อาจริยวาท]] ที่หลักฐานฝ่ายบาลีกล่าวว่าแยกมาจาก[[เถรวาท]] ส่วนหลักฐานฝ่ายสันสกฤตกล่าวว่าแยกมาจากนิกาย[[สรวาสติวาท]] อาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของนิกายนี้เป็น[[พราหมณ์]] เมื่อมาบวชได้นำหลักธรรมใน[[พระเวท]]มาผสมกับพระพุทธพจน์ แพร่หลายทางภาคตะวันตกและภาคใต้ของ[[อินเดีย]] โดยเฉพาะแคว้นอวันตี วนวาสี มหาสมณฑล เกรละ และมีอิทธิพลในลังกาด้วย พระพุทธชีวะได้แปลวินัยของนิกายนี้เป็น[[ภาษาจีน]]


หลักธรรมของนิกายนี้มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากนิกายอื่นๆ หลายประการ เช่น ไม่มี[[อันตรภพ]] ผู้สำเร็จอรหันต์แล้วไม่เสื่อมแต่[[พระโสดาบัน]]เสื่อมได้ การบูชาสถูปเจดีย์ได้บุญน้อย การถวายทานให้คณะสงฆ์ที่มี[[พระพุทธเจ้า]]เป็นประธานมีผลมากกว่าถวายทานต่อพระพุทธเจ้าองค์เดียว เป็นต้น
หลักธรรมของนิกายนี้มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากนิกายอื่นๆ หลายประการ เช่น ไม่มี[[อันตรภพ]] ผู้สำเร็จอรหันต์แล้วไม่เสื่อมแต่[[พระโสดาบัน]]เสื่อมได้ การบูชาสถูปเจดีย์ได้บุญน้อย การถวายทานให้คณะสงฆ์ที่มี[[พระพุทธเจ้า]]เป็นประธานมีผลมากกว่าถวายทานต่อพระพุทธเจ้าองค์เดียว เป็นต้น
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
* อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกกุฏราชวิทยาลัย. 2539.
* อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกกุฏราชวิทยาลัย. 2539.


[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาพุทธเถรวาท|มหิสาสกวาท]]
[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาพุทธ]]
{{โครงพุทธศาสนา}}
{{โครงพุทธศาสนา}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:48, 24 ตุลาคม 2555

นิกายมหิสาสกวาท หรือ นิกายมหีศาสกะ เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่หลักฐานฝ่ายบาลีกล่าวว่าแยกมาจากเถรวาท ส่วนหลักฐานฝ่ายสันสกฤตกล่าวว่าแยกมาจากนิกายสรวาสติวาท อาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของนิกายนี้เป็นพราหมณ์ เมื่อมาบวชได้นำหลักธรรมในพระเวทมาผสมกับพระพุทธพจน์ แพร่หลายทางภาคตะวันตกและภาคใต้ของอินเดีย โดยเฉพาะแคว้นอวันตี วนวาสี มหาสมณฑล เกรละ และมีอิทธิพลในลังกาด้วย พระพุทธชีวะได้แปลวินัยของนิกายนี้เป็นภาษาจีน

หลักธรรมของนิกายนี้มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากนิกายอื่นๆ หลายประการ เช่น ไม่มีอันตรภพ ผู้สำเร็จอรหันต์แล้วไม่เสื่อมแต่พระโสดาบันเสื่อมได้ การบูชาสถูปเจดีย์ได้บุญน้อย การถวายทานให้คณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานมีผลมากกว่าถวายทานต่อพระพุทธเจ้าองค์เดียว เป็นต้น

อ้างอิง

  • อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกกุฏราชวิทยาลัย. 2539.