ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samatha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''กาย'''ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] มี ๓ อย่าง คือ
'''กาย'''ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] มี ๓ อย่าง คือ
#'''สรีรกาย''' หรือ นิรมาณกาย กายที่เกิดจากอุตุนิยาม ( รูปธาตุ )คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ได้แก่ กายของ[[มนุษย์]] และสัตว์[[เดรัจฉาน]]
#'''สรีรกาย''' หรือ สัมโภคกาย กายที่เกิดจากอุตุนิยาม ( รูปธาตุ )คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ได้แก่ กายของ[[มนุษย์]] และสัตว์[[เดรัจฉาน]]
#'''ทิพยกาย''' หรือ สัมโภคกาย กายที่เกิดจาก[[กรรม]]นิยาม ( นามธาตุ )คือ [[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น [[พรหม]] [[เทพ]] วิญญาณ [[อสุรกาย]] [[เปรต]] และสัตว์[[นรก]]
#'''ทิพยกาย''' หรือ นิรมาณกาย กายที่เกิดจาก[[กรรม]]นิยาม ( นามธาตุ )คือ [[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น [[พรหม]] [[เทพ]] วิญญาณ [[อสุรกาย]] [[เปรต]] และสัตว์[[นรก]]
#'''[[ธรรมกาย]]''' หรือ นามกาย กายที่เกิดจาก[[ธรรมนิยาม]] ( [[ธรรมธาตุ]] )คือ [[อนิจจัง]] [[ทุกขัง]] [[อนัตตา]] ได้แก่ [[จิต]] และ [[เจตสิก]]
#'''[[ธรรมกาย]]''' หรือ นามกาย กายที่เกิดจาก[[ธรรมนิยาม]] ( [[ธรรมธาตุ]] )คือ [[อนิจจัง]] [[ทุกขัง]] [[อนัตตา]] ได้แก่ [[จิต]] และ [[เจตสิก]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:38, 2 พฤศจิกายน 2553

กายในทางพระพุทธศาสนา มี ๓ อย่าง คือ

  1. สรีรกาย หรือ สัมโภคกาย กายที่เกิดจากอุตุนิยาม ( รูปธาตุ )คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ได้แก่ กายของมนุษย์ และสัตว์เดรัจฉาน
  2. ทิพยกาย หรือ นิรมาณกาย กายที่เกิดจากกรรมนิยาม ( นามธาตุ )คือ กิเลส กรรม วิบาก ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น พรหม เทพ วิญญาณ อสุรกาย เปรต และสัตว์นรก
  3. ธรรมกาย หรือ นามกาย กายที่เกิดจากธรรมนิยาม ( ธรรมธาตุ )คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ได้แก่ จิต และ เจตสิก

อ้างอิง

  • คณะสงฆ์จีนนิกาย.พระพุทธศาสนามหายาน.กรุงเทพ ฯ : ธนาคารกรุงเทพพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ,2531.
  • ประสงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม.โอเดียนสโตร์. 2548
  • เสฐียร พันธรังษี.พุทธศาสนามหายาน.กรุงเทพ ฯ : สุขภาพใจ,2543.
  • เสถียร โพธินันทะ.ปรัชญามหายาน.กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2541.
  • อภิชัย โพธิประสิทธิศาสตร์.พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2539.
  • ศึกษาข้อมูลเรื่องธรรมกายเพิ่มเติมที่เวบ http://khunsamatha.com/