ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเรือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fixed typo
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
Fixed typo
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
https://www.technologychaoban.com/thai-local-wisdom/article_161930

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.marigoldasia.com/th/about.php รายละเอียด ดาวเรือง] จากเว็บ marigoldasia.com
* [http://www.marigoldasia.com/th/about.php รายละเอียด ดาวเรือง] จากเว็บ marigoldasia.com

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:16, 14 เมษายน 2564

ดาวเรือง
ไฟล์:Dawreug.jpg
ดอกดาวเรือง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Asterales
วงศ์: Asteraceae
สกุล: Tagetes
สปีชีส์: T.  erecta
ชื่อทวินาม
Tagetes erecta
L.

ดาวเรือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Tagetes erecta L.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า คำปู้จู้ (ภาคเหนือ) นิยมปลูกตัดดอก เป็นดาวเรืองในกลุ่ม African หรือ American marigold เป็นพันธุ์ดอกใหญ่ พันธุ์ที่ใช้เป็นการค้าในประเทศไทยได้แก่พันธุ์ซอเวอริน (soverign) นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ใหม่ ๆ ที่นำเข้ามาได้แก่ พันธุ์จาเมกาและอื่น ๆ อีกหลายพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะและสีที่แตกต่างกันไป

ดาวเรืองขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก อาจใช้การปักชำได้ แต่ต้นที่ได้จะให้ดอกที่มีขนาดเล็กกว่า

การใช้ประโยชน์

ดอกดาวเรืองใช้ร้อยพวงมาลัยชนิดต่าง ๆ เพื่อการบูชาพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อ กลีบดอกดาวเรืองมีสารสีเหลืองที่เรียกว่าแซนโทฟิลล์สูง จึงมีการปลูกเพื่อเก็บดอกเพื่อเอาไปเป็นส่วนผสมของอาหารไก่ไข่เพื่อให้ไข่แดงมีสีแดงสวยทดแทนสารสังเคราะห์

ดาวเรืองสะสมสารหนูได้ 42% ในใบ[1] จึงมีประโยชน์ในการฟื้นฟูดินที่ปนเปื้อนสารหนู มีกลิ่นฉุนและสามารถไล่ยุงได้รวมถึงสามารถไล่ส่งมีชิวิตชนิดอื่นๆได้อีกด้วย ดอกดาวเรืองที่ไม่มีคุณภาพก็สามรถนำมาทำเป็นซากพืชซากสัตว์ได้อีกด้วยซึ่งในลักษณะนี้จะมีประโยชน์มากกว่าการนำดอกดาวเรืองที่ไม่มีคุณภาพไปใช้ในการทำสิ่งอื่นๆ เพราะรูปลักษณ์นั้นจะดูไม่สวย อีกทั้งกลิ่น รวมถึงลักษณะทางกายภาพนั้นจะแย่กว่าดอกอื่น ซึ่งสมารถจำแนกได้จากลักษณะของดอก ซึ่งจะอ้วนอวบกว่าดอกอื่นๆจนเห็นได้ชัด มีการช้ำที่ดอก ดอกไม่หนา ไม่มีกลิ่น และ สีเหลืองไม่นวลตา

อ้างอิง

  1. Chintakovid, W., Visoottiviseth, P., Khokiattiwong, S., and Lauengsuchenkul, S. (2008). Potential of the hybrid marigolds for arsenic phytoremediation and income generation of remediators in Ron Phibon district, Thailand. Chemosphere, 70, 1522 - 1537

https://www.technologychaoban.com/thai-local-wisdom/article_161930

แหล่งข้อมูลอื่น