ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวพุธ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
HakanIST (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 202.29.178.189 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ดาวเคราะห์
| ดาวเคราะห์น้อย =
| สีพื้นหลัง = #ffc0c0
| กว้าง=
| ชื่อดาว = ดาวพุธ
| สัญลักษณ์ = [[ไฟล์:Mercury symbol.svg|25px]]
| ภาพ = [[File:Mercury in color - Prockter07-edit1.jpg|260px]]
| คำอธิบายภาพ = ภาพดาวพุธจาก [[ยานเมสเซนเจอร์]] เมื่อปี 2008
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) =
| discovery_ref =
| ผู้ค้นพบ =
| วันค้นพบ =
| หลักการค้นพบ =
| ชื่อดาวเคราะห์น้อย (MPC name) =
| ชื่ออื่นๆ =
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย =
| orbit_ref =
| จุดเริ่มยุค = J2000
| ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด = 69,817,079 [[กิโลเมตร|กม.]]<br />
0.46669835 [[หน่วยดาราศาสตร์]]
| ระยะจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 46,001,272 กม.<br />0.30749951 หน่วยดาราศาสตร์
| ระยะจุดใกล้โลกที่สุด =
| ระยะจุดไกลโลกที่สุด =
| ระยะจุดใกล้ศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| ระยะจุดไกลศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| กึ่งแกนเอก = 57,909,176 กม.<br />0.38709893 หน่วยดาราศาสตร์
| กึ่งแกนรอง =
| รัศมีวงโคจรเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงของวงโคจร = 2.406 หน่วยดาราศาสตร์
| ความเยื้องศูนย์กลาง = 0.20563069
| คาบการโคจร =
| คาบดาราคติ = 87.96935 [[วัน]]<br /> (0.2408470 [[ปีจูเลียน]])
| คาบซินอดิก = 115.8776 วัน
| เดือนทางดาราคติ =
| เดือนจันทรคติ =
| เดือนอะโนมาลิสติก =
| เดือนดราโคนิก =
| เดือนทรอปิคัล =
| อัตราเร็วเฉลี่ยในวงโคจร = 47.36 กม./วินาที
| อัตราเร็วสูงสุดในวงโคจร = 58.98 กม./วินาที
| อัตราเร็วต่ำสุดในวงโคจร = 38.86 กม./วินาที
| มีนอนิมัลลี =
| ความเอียง = 7.00487° <br /> (3.38° กับศูนย์สูตร[[ดวงอาทิตย์]])
| ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น = 48.33167°
| long_periastron =
| time_periastron =
| ระยะมุมจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 29.12478°
| ระยะมุมจุดใกล้โลกที่สุด =
| ดาวบริวารของ = ดวงอาทิตย์
| จำนวนดาวบริวาร = ไม่มี
| ใส่ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ? (yes/no) = yes
| มิติ =
| อัตราส่วนภาพ =
| ความแป้น =
| ค่าความรี =
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวศูนย์สูตร = 4,879.4 กม.<br /> (0.383×[[โลก]])
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้ว =
| เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงตามแนวศูนย์สูตร =
| เส้นรอบวงตามแนวขั้ว =
| เส้นรอบวงเฉลี่ย =
| พื้นที่ผิว = 7.5×10<sup>7</sup> [[ตารางกิโลเมตร|กม.²]]<br /> (0.147×โลก)
| พื้นที่ผืนดิน =
| พื้นที่ผืนน้ำ =
| ปริมาตร = 6.1×10<sup>10</sup> [[ลูกบาศก์กิโลเมตร|กม.³]]<br /> (0.056×โลก)
| มวล = 3.302×10<sup>23</sup> กก.<br /> (0.055×โลก)
| ความหนาแน่น = 5.427 [[กรัม]]/ซม.³
| ความโน้มถ่วง = 3.701 [[ความเร่ง|เมตร/วินาที²]]<br /> (0.377 [[จี]])
| ความเร็วหลุดพ้น = 4.435 กม./วินาที
| คาบการหมุนรอบตัวเอง = 58.6462 วัน<br /> (58 วัน 15.5088 [[ชั่วโมง|ชม.]])
| ความเร็วการหมุนรอบตัวเอง = 10.892 กม./ชม.
| ความเอียงของแกน = ~0.01°
| ความเอียงแกน =
| ไรต์แอสเซนชันของขั้วเหนือ = 281.01° <br /> (18 ชม. 44 นาที 2 วินาที)
| เดคลิเนชัน = 61.45°
| มุมละติจูดอิคลิปติค =
| มุมลองติจูดอิคลิปติค =
| อัตราส่วนสะท้อน = 0.10-0.12
| อุณหภูมิเดี่ยว =
| ใส่หลายอุณหภูมิ? (yes/no) = yes
| ชื่ออุณหภูมิ1 = 0°N, 0°W
| อุณหภูมิ1_ต่ำสุด = 100 [[เคลวิน|K]]
| อุณหภูมิ1_เฉลี่ย = 340 K
| อุณหภูมิ1_สูงสุด = 700 K
| ชื่ออุณหภูมิ2 = 85°N, 0°W
| อุณหภูมิ2_ต่ำสุด = 80 K
| อุณหภูมิ2_เฉลี่ย = 200 K
| อุณหภูมิ2_สูงสุด = 380 K
| ชนิดสเปกตรัม =
| โชติมาตรปรากฏ =
| โชติมาตรสัมบูรณ์ =
| ขนาดเชิงมุม =
| อื่นๆ =
| ใส่บรรยากาศ? (yes/no) = yes
| ความดันบรรยากาศที่พื้นผิว = น้อยมาก
| ความหนาแน่นบรรยากาศ =
| องค์ประกอบบรรยากาศ = 31.7% [[โพแทสเซียม]]<br />24.9% [[โซเดียม]]<br />9.5% [[อะตอม]][[ออกซิเจน]]<br />7.0% [[อาร์กอน]]<br />5.9% [[ฮีเลียม]]<br />5.6% [[โมเลกุล]][[ออกซิเจน]]<br />5.2% [[ไนโตรเจน]]<br />3.6% [[คาร์บอนไดออกไซด์]]<br />3.4% [[น้ำ]]<br />3.2% [[ไฮโดรเจน]]<br />
}}

'''ดาวพุธ'''เป็น[[ดาวเคราะห์]]ที่อยู่ใกล้[[ดวงอาทิตย์]]มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดใน[[ระบบสุริยะ]] ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มี[[ดาวบริวาร]] [[ยานอวกาศ]]เพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือ[[ยานมาริเนอร์ 10]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2517]]-[[พ.ศ. 2518|2518]] (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น

ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้

ชื่อ[[ภาษาละติน|ละติน]]ของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ {{Unicode|☿}} เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ [[เฮอร์เมส]] เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และ[[อพอลโล]] เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่า[[พีทาโกรัส]]เป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน

== บรรยากาศ ==
== บรรยากาศ ==
ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่ำอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูดเพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วย[[ไฮโดรเจน]], [[ฮีเลียม]], [[ออกซิเจน]], [[โซเดียม]], [[แคลเซียม]], [[โพแทสเซียม]] และ [[น้ำ]] มีความดันบรรยากาศประมาณ 10<sup>-14</sup> บาร์
ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่ำอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูดเพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วย[[ไฮโดรเจน]], [[ฮีเลียม]], [[ออกซิเจน]], [[โซเดียม]], [[แคลเซียม]], [[โพแทสเซียม]] และ [[น้ำ]] มีความดันบรรยากาศประมาณ 10<sup>-14</sup> บาร์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:42, 22 มกราคม 2561

บรรยากาศ

ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่ำอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูดเพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วยไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ออกซิเจน, โซเดียม, แคลเซียม, โพแทสเซียม และ น้ำ มีความดันบรรยากาศประมาณ 10-14 บาร์

บรรยากาศของดาวพุธมีการสูญเสียและถูกทดแทนอยู่ตลอดเวลาโดยมีแหล่งที่มาหลายแหล่ง ไฮโดรเจนและฮีเลียมอาจจะมาจากลมสุริยะ พวกมันแพร่เข้ามาผ่านสนามแม่เหล็กของดาวพุธก่อนจะหลุดออกจากบรรยากาศในที่สุด การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี จากแกนของดาวก็อาจจะเป็นอีกแหล่งหนึ่งที่ช่วยเติมฮีเลียม โซเดียม และโพแทสเซียมให้กับบรรยากาศดาวพุธ

ไม่เคยถูกแสงอาทิตย์โดยตรงเลย การสำรวจได้เผยให้เห็นถึงแถบสะท้อนเรดาร์ขนาดใหญ่อยู่บริเวณขั้วของดาว ซึ่งน้ำแข็งเป็นหนึ่งในสารไม่กี่ชนิดที่สามารถสะท้อนเรดาร์ได้ดีเช่นนี้

บริเวณที่มีน้ำแข็งนั้นเชื่อกันว่าอยุ่ลึกลงไปใต้พื้นผิวเพียงไม่กี่เมตร และมีน้ำแข็งประมาณ 1014 - 1015 กิโลกรัม เปรียบเทียบกับน้ำแข็งที่แอนตาร์กติกาของโลกเราที่มีน้ำแข็งอยู่ 4 x 10 18 กิโลกรัม ที่มาของน้ำแข็งบนดาวพุธยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อกันว่าอาจจะมีที่มาจากดาวหางที่พุ่งชนดาวพุธเมื่อหลายล้านปีก่อน หรืออาจจะมาจากภายในของดาวพุธเอง

ภูมิประเทศ

ดาวพุธเต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาต

ดาวพุธมีหลุมอุกกาบาตจำนวนมากจนดูคล้ายดวงจันทร์ ภูมิลักษณ์ที่เด่นที่สุดบนดาวพุธ (เท่าที่สามารถถ่ายภาพได้) คือ แอ่งแคลอริส หลุมอุกกาบาตที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,350 กิโลเมตร ผิวดาวพุธมีผาชันอยู่ทั่วไป ซึ่งก่อตัวขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีที่แล้ว ขณะที่ใจกลางดาวพุธเย็นลงพร้อมกับหดตัว จนทำให้เปลือกดาวพุธย่นยับ พื้นที่ส่วนใหญ่ของดาวพุธปกคลุมด้วยที่ราบ 2 แบบที่มีอายุต่างกัน ที่ราบที่มีอายุน้อยจะมีหลุมอุกกาบาตหนาแน่นน้อยกว่า เป็นเพราะมีลาวาไหลมากลบหลุมอุกกาบาตที่เกิดก่อนหน้า

องค์ประกอบภายใน

โครงสร้างของดาวพุธ
1. เปลือก - หนา100–200 กม.
2. แมนเทิล - หนา 600 กม.
3. แกน - รัศมี 1,800 กม.

ดาวพุธมีแก่นที่ประกอบด้วยเหล็กในสัดส่วนที่สูง (แม้เมื่อเปรียบเทียบกับโลก) เป็นโลหะประมาณ 70% ที่เหลืออีก 30% เป็นซิลิเกต ความหนาแน่นเฉลี่ยมีค่า 5,430 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่นของโลกอยู่เล็กน้อย สาเหตุที่ดาวพุธมีเหล็กอยู่มากแต่มีความหนาแน่นต่ำกว่าโลก เป็นเพราะในโลกมีการอัดตัวแน่นกว่าดาวพุธ ดาวพุธมีมวลเพียง 5.5% ของมวลโลก แก่นที่เป็นเหล็กมีปริมาตรราว 42% ของดวง (แก่นโลกมีสัดส่วนเพียง 17%) ล้อมรอบด้วยเนื้อดาวหรือแมนเทิลหนา 600 กิโลเมตร

การเคลื่อนที่

วงโคจรของดาวพุธ

ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ [1]

การศึกษาและการสำรวจ

ยานมาริเนอร์ 10 ที่ใช้สำรวจดาวพุธ เมื่อ พ.ศ. 2517 - 2518

ยานอวกาศที่เข้าไปเฉียดใกล้ๆ ดาวพุธและนำภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรกคือ ยานอวกาศมาริเนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517 นับว่าเป็นยานลำแรกและลำเดียวที่ส่งไปสำรวจดาวพุธ ยานมารีเนอร์ 10 เข้าใกล้ดาวพุธ 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อเดือนมีนาคม และ กันยายน พ.ศ. 2517 และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2518 ยานเข้าใกล้ดาวพุธที่สุดครั้ง แรกเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2517 และได้ส่งภาพกลับมา 647 ภาพ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2517 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2518 ขณะนั้นเครื่องมือภายในยานได้เสื่อมสภาพลง ในที่สุดก็ติดต่อกับโลกไม่ได้ตั้งแต่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2518 ยานมารีเนอร์ 10 จึงกลายเป็นขยะอวกาศที่โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ โดยเข้ามาใกล้ดาวพุธครั้งคราวตามจังหวะเดิมต่อไป [2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น