ข้ามไปเนื้อหา

ไมมัส (ดาวบริวาร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Mimas
ลักษณะของวงโคจร[1]
กึ่งแกนเอก:185539 km
ความเอียง:1.574°
ดาวบริวารของ:ดาวเสาร์
ลักษณะทางกายภาพ
มิติ:415.6 × 393.4 × 381.2 กิโลเมตร [2]
เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย:= 198.2 ± 0.4 กิโลเมตร
(0.0395 รัศมีโลก) [2]
พื้นที่ผิว:~490 000 ตารางกิโลเมตร
ปริมาตร:~32 900 000 ลูกบาศ์กกิโลเมตร
มวล:(3.749 3 ± 0.003 1)×1019 kg[3][4]
(6.3×10−6 มวลโลก)
ความหนาแน่นเฉลี่ย:1.1479 ± 0.007 g/cm³[2]
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
0.064 m/s² (0.648%g)
ความเร็วหลุดพ้น:0.159 km/s
อัตราส่วนสะท้อน:0.962 ± 0.004 (geometric)[5]
อุณหภูมิ:~64 K
โชติมาตรปรากฏ:12.9[6]

มีมัส (Mimas) เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ที่วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบในปี ค.ศ. 1789[7] ตั้งชื่อมาจากยักษ์มีมัส ลูกชายของไกอาในเทพปกรณัมกรีก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 396 กิโลเมตร หรือ 246 ไมล์ เป็นดาวบริวารที่ 20 ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะและเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เล็กที่สุดที่เป็นที่รู้จักจะอยู่ในรูปทรงโค้งมนของตัวเองเพราะแรงโน้มถ่วง

การค้นพบ

[แก้]

วิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ ค้นพบมีมัสในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1789 เขาบันทึกการค้นพบของเขาไว้ดังต่อไปนี้

การตั้งชื่อ

[แก้]

มีมัสตั้งชื่อตามหนึ่งในไททันในเทพปกรณัมกรีก คือ มีมัส ชื่อของดาวบริวารทั้งเจ็ดเป็นที่รู้จักหลังจากนั้นของดาวเสาร์

ลักษณะทางกายภาพ

[แก้]

การสำรวจ

[แก้]

ยานไพโอเนียร์ 11 ได้บินผ่านดาวเสาร์ในปี ค.ศ. 1979[8] และมันใกล้เข้ามาถึงมีมัสอยู่ 104,263 กิโลเมตรในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1979 วอยเอจเจอร์ 1 ได้บินผ่านในปี ค.ศ. 1980 และวอยเอจเจอร์ 2 ในปี ค.ศ. 1981

มีมัสได้รับการถ่ายภาพหลายครั้ง โดยยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ซึ่งเข้าสู่วงโคจรรอบดาวเสาร์ในปี ค.ศ. 2004 ใกล้กับที่บินผ่านที่เกิดขึ้นในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 ขณะที่กัสซีนีบินผ่านมีมัสที่ 9,500 กิโลเมตร (5,900 ไมล์)

อ้างอิง

[แก้]
  1. Harvey, Samantha (April 11, 2007). "NASA: Solar System Exploration: Planets: Saturn: Moons: Mimas: Facts & Figures". NASA. สืบค้นเมื่อ 2007-10-10.
  2. 2.0 2.1 2.2 doi:10.1007/978-1-4020-9217-6_24
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  3. doi:10.1086/508812
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  4. Jacobson, R. A.; Spitale, J.; และคณะ (2005). "The GM values of Mimas and Tethys and the libration of Methone". Astronomical Journal. 132 (2): 711. Bibcode:2006AJ....132..711J. doi:10.1086/505209.
  5. doi:10.1126/science.1134681
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  6. Observatorio ARVAL (April 15, 2007). "Classic Satellites of the Solar System". Observatorio ARVAL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2011-12-17.
  7. Herschel, W. (1790). "Account of the Discovery of a Sixth and Seventh Satellite of the Planet Saturn; With Remarks on the Construction of Its Ring, Its Atmosphere, Its Rotation on an Axis, and Its Spheroidical Figure". Philosophical Transactions of the Royal Society of London. 80 (0): 1–20. doi:10.1098/rstl.1790.0001.
  8. "Pioneer 11 Full Mission Timeline". Dmuller.net. สืบค้นเมื่อ 2012-02-26.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]