วงแหวนดาวเคราะห์
วงแหวนดาวเคราะห์ (อังกฤษ: planetary ring) คือวงแหวนของฝุ่นคอสมิกและวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ ที่โคจรไปรอบดาวเคราะห์ในรูปร่างของแผ่นจานแบน ๆ ดาวเคราะห์ที่มีวงแหวนขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักและโดดเด่นที่สุด คือ ดาวเสาร์ แต่ดาวแก๊สยักษ์อีก 3 ดวงในระบบสุริยะ (ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน) ต่างก็มีระบบวงแหวนรอบตัวเองทั้งนั้น
ภาพรวม[แก้]
ความหนาของวงแหวนดาวเคราะห์ (วงแหวนรอบ ๆ ดาวเคราะห์) ถูกได้รับการเสนอว่ามีการก่อตัวขึ้นในสามวิธี คือ จากวัสดุของจานดาวเคราะห์ก่อนเกิดที่อยู่ภายในเขตจำกัดของโรช ของดาวเคราะห์และจึงไม่สามารถรวมตัวกันเพื่อก่อตัวเป็นดวงจันทร์ขึ้นมาได้
จากรายงานล่าสุด[1][2][3] ดวงจันทร์ดวงหนึ่งของดาวเสาร์คือ รีอา อาจจะมีระบบวงแหวนของตัวเองด้วย ซึ่งจะเป็นดวงจันทร์เพียงดวงเดียวเท่าที่รู้จักซึ่งมีระบบวงแหวนของตัวเอง
ภาพเปรียบเทียบ[แก้]

ภาพวงแหวนหลักของดาวพฤหัสบดีจากยานอวกาศกาลิเลโอ

ภาพวงแหวนของดาวยูเรนัส จากยานวอยเอจเจอร์ 2

ภาพวงแหวนของดาวเนปจูน จากยานวอยเอจเจอร์ 2
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "NASA - Saturn's Moon Rhea Also May Have Rings". June 6, 2008.
- ↑ Jones, G. H. (2008-03-07). "The Dust Halo of Saturn's Largest Icy Moon, Rhea". Science. AAAS. 319 (5868): 1380–1384. doi:10.1126/science.1151524. PMID 18323452.
- ↑ Lakdawalla, E. (2008-03-06). "A Ringed Moon of Saturn? Cassini Discovers Possible Rings at Rhea". The Planetary Society web site. Planetary Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-10. สืบค้นเมื่อ 2008-03-09.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับดาราศาสตร์หรือจักรวาลวิทยานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ดาราศาสตร์ |