ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน431,710
ผู้ใช้สิทธิ57.56%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ มนตรี พงษ์พานิช ณรงค์ วงศ์วรรณ สมบุญ ระหงษ์
พรรค กิจสังคม สามัคคีธรรม ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Fourth party
 
พรรค เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอวังน้อย, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอภาชี และอำเภออุทัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม มนตรี พงษ์พานิช (4)* 73,143
สามัคคีธรรม ประมวล สภาวสุ (5)* 48,598
พลังธรรม สุริยันต์ บุญนาคค้า (1) 30,188
ความหวังใหม่ มนตรี รักษาดี (7) 27,373
พลังธรรม ประนอม ศรีสุวรรณ์ (2) 20,260
กิจสังคม ชาติชาย เฉลยจิตร (3) 2,150
ความหวังใหม่ อรุณ คงมั่น (8) 1,978
ประชาธิปัตย์ เปรื่อง จำแนกสาร (20) 1,098
สามัคคีธรรม วิภาสศักดิ์ ปทุมรัตน์ (6) 975
ประชากรไทย ว่าที่ร้อยตรี พะอบ ภู่ดำรงค์ (14) 578
ประชาธิปัตย์ สุรีย์พร จำแนกสาร (19) 415
ประชากรไทย แนบ ภู่ดำรงค์ (13) 391
รวมพลังใหม่ สมศักดิ์ ปัญญาโฉม (9) 295
รวมพลังใหม่ ชลอ พงษ์รื่น (10) 158
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุชาติ เรืองโอชา (12) 136
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อำนวย ทรัพย์ชิด (15) 109
ราษฎร (พ.ศ. 2529) นิยม งามเขตต์ (11) 106
สหประชาธิปไตย ประทีป อรุณรัศมี (17) 99
สหประชาธิปไตย ตองอ่อน อรุณรัศมี (18) 80
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญชู ทรัพย์ชิด (16) 51
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางปะหัน, อำเภอบางบาล, อำเภอลาดบัวหลวง และอำเภอผักไห่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม บุญพันธ์ แขวัฒนะ (3)* 82,525
กิจสังคม พลโท เขษม ไกรสรรณ์ (4) 62,359
ประชากรไทย พันเอก ณรงค์ กิตติขจร (7)* 52,407
ความหวังใหม่ วิเชียร กลิ่นสุคนธ์ (1) 13,294
ความหวังใหม่ สุทธิ จตุพร (7) 5,214
ประชากรไทย ร้อยตรี ตราชู บริสุทธิ์ (8) 1,028
รวมพลังใหม่ กรรณิการ์ พงษ์รื่น (5) 971
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ขาว เกตุนิธี (9) 597
รวมพลังใหม่ สมทรง กระทุ่มเขต (6) 537
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญยัง เนื่องนาคา (10) 364
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ ศรีทอง (11) 241
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ฉัตร ผาสุขพรรณ์ (12) 152
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535