ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนราธิวาสในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนราธิวาสในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน287,767
ผู้ใช้สิทธิ61.70%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ ณรงค์ วงศ์วรรณ เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
พรรค ความหวังใหม่ สามัคคีธรรม ประชาชน (พ.ศ. 2531)
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 3 เพิ่มขึ้น1 ลดลง 1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) กิจประชาคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1 ลดลง 1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร และอำเภอตากใบ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนราธิวาส
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ (7)* 34,678
สามัคคีธรรม เจะอามิง โตะตาหยง (2) 32,756
ความหวังใหม่ พิสุทธิ์ หะยีดิน (8) 30,751
ประชาธิปัตย์ พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ (5) 25,995
สามัคคีธรรม เมธา เมฆารัฐ (1) 24,467
กิจสังคม พีระพงศ์ ระบิงเกา (4) 6,561
ประชาธิปัตย์ มาหามะ เจ๊ะหลง (6) 4,607
กิจสังคม อับดุลฮาลีม หะสาเมาะ (3) 2,793
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มาโนชญ์ พันธุ์พฤกษ์วิทยา (10) 2,378
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิรวัชร ยูโซะ (9) 794
เกษตรเสรี สุวัฒน์ ภมรพล (11) 352
เกษตรเสรี ดุลอาซิ จิตเชาวนะ (12) 161
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาชน (พ.ศ. 2531)
สามัคคีธรรม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ และ อำเภอระแงะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนราธิวาส
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ปริญญา เจตาภิวัฒน์ (5)* 33,843
ความหวังใหม่ นัจมุดดีน อูมา (6) 24,744
สามัคคีธรรม สุรเชษฐ์ แวอาแซ (3) 24,425
สามัคคีธรรม สุรินทร์ อีลา (4) 21,133
ประชาธิปัตย์ มหามะ แมะเก (1) 13,737
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิทธิชัย บือราเฮง (9)✔ 9,071
ประชาธิปัตย์ อับดุลอาซิ หามะ (2) 4,991
กิจสังคม สะแม ฮามะ (7) 3,322
เกษตรเสรี สุทธิชัย อาแว (11) 1,917
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มะยี หะยีกาเล็ง (10) 1,230
เกษตรเสรี สุชาติ อีลา (12) 1,180
กิจสังคม ฮารงค์ วาราวอ (8) 196
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจประชาคม

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535