ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดยโสธรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดยโสธรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน232,892
ผู้ใช้สิทธิ77.92%
  First party Second party Third party
 
Somboon rahong.jpg
Montri Phongphanit.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ มนตรี พงษ์พานิช ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ชาติไทย กิจสังคม สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร ชวน หลีกภัย
พรรค เอกภาพ ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดยโสธรทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดยโสธร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม วิฑูรย์ วงษ์ไกร (13)✔ 75,967
ชาติไทย วิสันต์ เดชเสน (7)* 42,171
สามัคคีธรรม อุบล บุญญชโลธร (1) 39,638
พลังธรรม สมบูรณ์ ทองบุราณ (20) 36,324
มวลชน วิรุฬห์ วงศางาม (4) 36,266
ประชาธิปัตย์ สมบัติ วอทอง (16) 31,514
สามัคคีธรรม รณฤทธิชัย คานเขต (3) 31,079
ความหวังใหม่ พีรพันธุ์ พาลุสุข (10)* 28,032
สามัคคีธรรม บุญเกื้อ บุญญชโลธร (2) 24,289
พลังธรรม เกรียงศักดิ์ บุญทวี (21) 19,831
พลังธรรม ประภาศรี สุฉันทบุตร (19) 18,202
ความหวังใหม่ อุดร ทองน้อย (12)* 13,695
ความหวังใหม่ อำนวย แสงแก้ว (11) 13,223
กิจสังคม เลอลักษณ์ บุญเอก (14) 12,778
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย ไชยสัจ (17) 11,174
ชาติไทย ทองเปรม คัมภ์ทวี (9) 10,627
เอกภาพ คมจิต ลุสวัสดิ์ (22) 8,432
ประชาธิปัตย์ สมรรถชัย ประสพดี (18) 5,925
ชาติไทย เยี่ยมยอด ศรีมันตะ (8) 4,143
กิจสังคม อวยชัย สุทธิอาคาร (15) 3,694
ประชากรไทย วันรบ พรชัย (25) 3,031
มวลชน ทองหลวง โมคาพันธ์ (5) 1,747
มวลชน หมุน พรหมจารีย์ (6) 1,427
สหประชาธิปไตย วีรศักดิ์ ทองสุทธิ์ (31) 1,095
ประชากรไทย สุชินดิษฐ์ หลักคำ (27) 913
เอกภาพ สมจิตต์ มัญชุวีณา (24) 731
เอกภาพ จ่าสิบตำรวจ ทวนชัย รัตนวงษ์ (23) 726
ประชากรไทย ประสงค์ หลักทองคำ (26) 715
สหประชาธิปไตย มนูญ วงษ์ใหญ่ (33) 663
สหประชาธิปไตย ไพสรรค์ ทองสุทธิ์ (32) 318
เกษตรเสรี เรืองชัย ศรีหาคุณ (37) 304
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สุนทร หลักหาญ (30) 229
เกษตรเสรี สินสมุทร นาคสุนทรเวทิน (39) 217
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สมคิด โสมาบุตร (28) 161
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) เฉลิมชาติ ปาคำ (29) 158
เกษตรเสรี มานพ อบรม (38) 148
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สำราญ แว่นแก้ว (34)
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุทิน ใจจิต (35)✔
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมโพธิ ศิริวาลย์ (36)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535