ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Swissiopi (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 340: บรรทัด 340:
{{ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก}}
{{ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก}}
{{สโมสรฟุตบอลระหว่างประเทศ}}
{{สโมสรฟุตบอลระหว่างประเทศ}}
{{ฟุตบอลถ้วยระดับสโมสรโลก}}
[[หมวดหมู่:ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก| ]]
[[หมวดหมู่:ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก| ]]
[[หมวดหมู่:การแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:การแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:38, 29 พฤศจิกายน 2563

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
logo
ก่อตั้งค.ศ. 2000
ภูมิภาคนานาชาติ (ฟีฟ่า)
จำนวนทีม7 ทีม (จาก 6 สมาพันธ์)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอังกฤษ ลิเวอร์พูล (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน เรอัลมาดริด (4 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์บีอินสปอตส์
เว็บไซต์www.fifa.com/clubworldcup
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ (อังกฤษ: FIFA Club World Cup)[1][2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 ที่ประเทศบราซิล ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป โดยฟีฟ่าได้จัดตั้งการแข่งขันรายการนี้ขึ้นเพื่อใช้แทนการแข่งขันรายการเดิมที่ชื่ออินเตอร์คอนติเนนตัลคัพหรือโตโยต้าคัพซึ่งถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 2004 เพื่อมารวมรายการนี้ ในปี ค.ศ. 2005 ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิร์ดคัพ ทีมที่ชนะเลิศจากทุกทวีปที่จะมาแข่งขันร่วมรายการนี้ โดยทีมชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากยุโรปและโกปาลิเบร์ตาโดเรสจากอเมริกาใต้ จะเข้าไปรอแข่งขันในรอบรองชนะเลิศทันที

ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุด คือ เรอัลมาดริด (สเปน, 4 ครั้ง) อันดับสอง คือ บาร์เซโลนา (สเปน, 3 ครั้ง) อันดับสาม คือ คอรินเทียนส์ (บราซิล, 2 ครั้ง)

สโมสรที่ชนะเลิศล่าสุดในปัจจุบันจะได้รับการติดตราแชมป์สโมสรโลกที่เสื้อสโมสรในรายการแข่งขันของฟีฟ่าไปตลอดจนกว่าจะมีการเปลี่ยนทีมสโมสรที่ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกในอนาคต

ทีมสโมสรที่ชนะเลิศครั้งล่าสุด คือ ลิเวอร์พูลจากอังกฤษ ซึ่งชนะเลิศได้เป็นสมัยที่ 1 ในรายการนี้โดยเอาชนะฟลาเม็งกูจากบราซิลไป 1-0 ช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ 120 นาที ของนัดชิงชนะเลิศ 2019

การแข่งขันทีมชนะเลิศในแต่ละปี

ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลคะแนน อันดับ 4 สนาม
ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ
2019
รายละเอียด
 กาตาร์ อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1–0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
บราซิล ฟลาเม็งกู เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ 2–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–3
(ดวลจุดโทษ)
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล สนามกีฬาเอ็ดดูเคชันซิตี,
โดฮา ประเทศกาตาร์
2018
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน เรอัลมาดริด 4–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์ อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต 4–0 ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2017
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน เรอัลมาดริด 1–0 บราซิล อาแลเกร็งซี เม็กซิโก ปาชูกา 4–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลญะซีเราะฮ์ สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2016
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน เรอัลมาดริด 4–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล 2–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–3
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก กลุบอาเมริกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2015
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน บาร์เซโลนา 3–0 อาร์เจนตินา รีเบร์เปลต ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 2–1 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2014
รายละเอียด
 โมร็อกโก สเปน เรอัลมาดริด 2–0 อาร์เจนตินา ซานโลเรนโซ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ซิตี 1–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–2
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก กรุซอาซุล สตาด เดอ มาร์ราคิช,
มาร์ราคิช โมร็อกโก
2013
รายละเอียด
 โมร็อกโก เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 2–0 โมร็อกโก ราจาคาซาบลังกา บราซิล อัตเลชีกูมีเนย์รู 3–2 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ สตาด เดอ มาร์ราคิช,
มาร์ราคิช โมร็อกโก
2012
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล คอรินเทียนส์ 1–0 อังกฤษ เชลซี เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ 2–0 อียิปต์ อัลอะฮ์ลี สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2011
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น สเปน บาร์เซโลนา 4–0 บราซิล ซังตุส ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์ 0–0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
5–3
(ดวลจุดโทษ)
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2010
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3–0 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มาเซมเบ บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 4–2 เกาหลีใต้ ซองนัมอิลฮวาชอนมา สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2009
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สเปน บาร์เซโลนา 2–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ 1–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–3
(ดวลจุดโทษ)
เม็กซิโก แอตแลนเต สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี,
อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2008
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น อังกฤษ แมนเชสเตอร์

ยูไนเต็ด

1–0 เอกวาดอร์ แอลดียู กีโต ญี่ปุ่น กัมบะ โอซากะ 1–0 เม็กซิโก ปาชูกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2007
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น อิตาลี เอซี มิลาน 4–2 อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–2
(ดวลจุดโทษ)
ตูนิเซีย อีตวล ดู ซาฮีล สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2006
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 1–0 สเปน บาร์เซโลนา อียิปต์ อัลอะฮ์ลี 2–1 เม็กซิโก กลุบอาเมริกา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
2005
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น บราซิล เซาเปาลู 1–0 อังกฤษ ลิเวอร์พูล คอสตาริกา ซาปริซา 3–2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ,
โยโกฮามะ ญี่ปุ่น
ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป
2000
รายละเอียด
 บราซิล บราซิล คอรินเทียนส์ 0–0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–3
(ดวลจุดโทษ)
บราซิล วัชกู ดา กามา เม็กซิโก เนกาซา 1–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4–3
(ดวลจุดโทษ)
สเปน เรอัลมาดริด มารากานัง,
รีโอเดจาเนโร บราซิล

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

สโมสร ชนะเลิศ ปีชนะเลิศ
สเปน เรอัลมาดริด 4 2014, 2016, 2017, 2018
สเปน บาร์เซโลนา 3 2009, 2011, 2015
บราซิล คอรินเทียนส์ 2 2000, 2012
บราซิล เซาเปาลู 1 2005
บราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 1 2006
อิตาลี เอซี มิลาน 1 2007
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 2008
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 2010
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1 2013
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 2019

ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)

ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
สเปน สเปน 7 1 (2009, 2011, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018) (2006)
บราซิล บราซิล 4 4 (2000, 2005, 2006, 2012) (2000, 2011, 2017, 2019)
อังกฤษ อังกฤษ 2 2 (2008, 2019) (2005, 2012)
อิตาลี อิตาลี 2 0 (2007, 2010)
เยอรมนี เยอรมนี 1 0 (2013)
อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 0 4 (2007, 2009, 2014, 2015)
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 0 1 (2008)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 0 1 (2010)
โมร็อกโก โมร็อกโก 0 1 (2013)
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 1 (2016)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0 1 (2018)

ชนะเลิศ (จำแนกตามเมือง)

เมือง ชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ
สเปน มาดริด 4 เรอัลมาดริด (2014, 2016, 2017, 2018)
สเปน บาร์เซโลนา 3 บาร์เซโลนา (2009, 2011, 2015)
บราซิล เซาเปาลู 3 คอรินเทียนส์ (2000, 2012), เซาเปาลู (2005)
อิตาลี มิลาน 2 เอซี มิลาน (2007), อินเตอร์มิลาน (2010)
บราซิล โปร์ตูอาเลกรี 1 อิงเตร์นาซีโยนัล (2006)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ 1 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (2008)
เยอรมนี มิวนิก 1 ไบเอิร์นมิวนิก (2013)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 ลิเวอร์พูล (2019)

ชนะเลิศ (จำแนกตามสมาพันธ์ฟุตบอล)

สมาพันธ์ฟุตบอล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม
ยูฟ่า 12 (2007, 2008, 2009, 2010, 2011, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019) 3 (2005, 2006, 2012) 0
คอนเมบอล 4 (2000, 2005, 2006, 2012) 9 (2000, 2007, 2008, 2009, 2011, 2014, 2015, 2017, 2019) 4 (2010, 2013, 2016, 2018)
เอเอฟซี 0 2 (2016, 2018) 5 (2007, 2008, 2009, 2011, 2015)
ซีเอเอฟ 0 2 (2010, 2013) 1 (2006)
คอนคาแคฟ 0 0 5 (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
โอเอฟซี 0 0 1 (2014)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "FIFA Club World Championship TOYOTA Cup Japan 2005: Report and Statistics" (PDF). pp. 5, 19.
  2. "FIFA Club World Cup UAE 2017: Statistical Kit" (PDF). pp. 15, 40, 41, 42.

แหล่งข้อมูลอื่น

ฟุตบอลชิงถ้วยรางวัลในระดับสโมสรโลก
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกโกปาลิเบร์ตาโดเรสคอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีกเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีกโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก