ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาแสก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
}}
}}


'''ภาษาแสก''' เป็นภาษาตระกูลไท-กะได ที่ใช้พูดใน[[ลาว]]และ[[จังหวัดนครพนม]] [[ประเทศไทย]] บริเวณสองฝั่ง[[แม่น้ำโขง]] ผู้พูดภาษานี้เหลือน้อยเพราะคนรุ่นใหม่หันไปพูด[[ภาษาลาว]]และ[[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]]มากขึ้น
'''ภาษาแสก''' เป็นภาษาตระกูลไท-กะได ที่ใช้พูดใน[[ลาว]]และ[[จังหวัดนครพนม]] [[ประเทศไทย]] บริเวณสองฝั่ง[[แม่น้ำโขง]] ผู้พูดภาษานี้เหลือน้อยเพราะคนรุ่นใหม่หันไปพูด[[ภาษาลาว]]และ[[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]](ซึ่งเป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่ง)มากขึ้น


== ตัวอย่างภาษาแสก ==
== ตัวอย่างภาษาแสก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:02, 1 กรกฎาคม 2555

ภาษาแสก
ประเทศที่มีการพูดลาวและจังหวัดนครพนม ประเทศไทย
ตระกูลภาษา
ขร้า-ไท
รหัสภาษา
ISO 639-3

ภาษาแสก เป็นภาษาตระกูลไท-กะได ที่ใช้พูดในลาวและจังหวัดนครพนม ประเทศไทย บริเวณสองฝั่งแม่น้ำโขง ผู้พูดภาษานี้เหลือน้อยเพราะคนรุ่นใหม่หันไปพูดภาษาลาวและภาษาไทยถิ่นอีสาน(ซึ่งเป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่ง)มากขึ้น

ตัวอย่างภาษาแสก

ภาษาแสก จะอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได แต่ก็ได้มีการปะปนกับภาษาเวียดนามบางคำจึงมีลักษณะแตกต่างไปจากภาษาอีสานทั่วไป เช่น

  • จู้ = น้ำนม
  • อุ้นจ๊ก = คนดี
  • หอก = สามี
  • พา = ภรรยา
  • เค้า = สะพาน
  • ดังกึ๊น = กลางคืน
  • ดังแง้น = กลางวัน
  • สู่ = วิง
  • เหล่าก๊าว = เหม็นสาบ
  • เกดเทรา = ปวดหัว
  • เกดทุ่ง = ปวดท้อง
  • หล่อน = อร่อย
  • ห่อยผลั่ม = หวีผม
  • โคกโร้ย = ภูเขา
  • ลุ้ย = ลาก