ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คามวาสี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''คามวาสี''' (อ่านว่า คา-มะ-วา-สี) แปลว่า ''ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน'' หมายถึง[[ภิกษุ]]ที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมือง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทาง[[คันถธุระ]] คือศึกษาเล่าเรียนพระ[[ปริยัติธรรม]] มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่[[ธรรม]] และการก่อสร้าง[[ปฏิสังขรณ์]]วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้าน พระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า [[อรัญวาสี]] คือ พระป่า
'''คามวาสี''' (อ่านว่า คามะวาสี) แปลว่า ''ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน''


คามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนาม[[สมณศักดิ์]]ของพระสงฆ์ระดับ[[พระราชาคณะชั้นราช]]ขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน


== อ้างอิง ==
'''คามวาสี''' หมายถึง[[ภิกษุ]]ที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมือง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทาง[[คันถธุระ]] คือศึกษาเล่าเรียนพระ[[ปริยัติธรรม]] มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่[[ธรรม]] และการก่อสร้าง[[ปฏิสังขรณ์]]วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้าน พระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า [[อรัญวาสี]] คือ พระป่า
{{รายการอ้างอิง}}

{{เริ่มอ้างอิง}}
'''คามวาสี''' ถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนาม[[สมณศักดิ์]]ของพระสงฆ์ระดับ[[พระราชาคณะชั้นราช]]ขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน


==อ้างอิง==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:พระสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
{{โครงศาสนาพุทธ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:56, 11 สิงหาคม 2554

คามวาสี (อ่านว่า คา-มะ-วา-สี) แปลว่า ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน หมายถึงภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมือง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระ คือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้าน พระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า อรัญวาสี คือ พระป่า

คามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน

อ้างอิง