ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเอธิโอเปีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: roa-tara:Etiopie
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: si:ඉතියෝපියාව
บรรทัด 239: บรรทัด 239:
[[sg:Etiopïi]]
[[sg:Etiopïi]]
[[sh:Etiopija]]
[[sh:Etiopija]]
[[si:ඉතියෝපියාව]]
[[simple:Ethiopia]]
[[simple:Ethiopia]]
[[sk:Etiópia]]
[[sk:Etiópia]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:39, 22 มกราคม 2554

สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย

ตราแผ่นดินของเอธิโอเปีย
ตราแผ่นดิน
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติMarch Forward, Dear Mother Ethiopia: เดินก้าวไปข้างหน้า เอธิโอเปียที่รัก
ที่ตั้งของเอธิโอเปีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
แอดดิสอาบาบา
ภาษาราชการภาษาอัมฮารา
การปกครองสาธารณรัฐ
• ประธานาธิบดี
กีร์มา โวลเด-กีออร์กิส
• นายกรัฐมนตรี
เมเลส เซนาวี
การก่อตั้ง
• อาณาจักรดั้งเดิม
980 ปีก่อนคริสต์ศักราช
พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991)
พื้นที่
• รวม
1,127,127 ตารางกิโลเมตร (435,186 ตารางไมล์) (16)
0.7
ประชากร
• ประมาณ
67,673,031 (15)
60.0 ต่อตารางกิโลเมตร (155.4 ต่อตารางไมล์)
สกุลเงินเบอร์ (ETB)
เขตเวลา+3
รหัสโทรศัพท์251
โดเมนบนสุดETP

เอธิโอเปีย (อังกฤษ: Ethiopia) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีเข้ายึดครองประเทศนี้ กองทัพอังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487

ประวัติศาสตร์

เอธิโอเปียเป็นดินแดนที่ได้รับอารยธรรมจากอียิปต์และกรีกตั้งแต่สมัยโบราณ อิตาลีโจมตีเอธิโอเปียเมื่อ พ.ศ. 2479 และเข้าครอบครองได้สำเร็จใน พ.ศ. 2484 จักรพรรดิองค์สุดท้ายของเอธิโอเปีย เฮลี เซลาสซีที่ 1 เป็นผู้จัดตั้งระบบรัฐสภาเมื่อ พ.ศ. 2474

ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 เกิดความแห้งแล้งอย่างต่อเนื่องจนเกิดความวุ่นวายภายในประเทศ จักรพรรดิเซลาสซีสละราชบัลลังก์เมื่อ พ.ศ. 2517 เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อ พ.ศ. 2518 นอกจากนั้นยังเกิดสงครามภายในระหว่างกลุ่มการเมืองและเผ่าต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากซูดานและโซมาเลีย พ.ศ. 2521 เอธิโอเปียได้รับความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตจนรบชนะทหารโซมาเลีย และมีการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างกันเมื่อ พ.ศ. 2531

การเมือง

การแบ่งเขตการปกครอง

สภาพทางภูมิศาสตร์

มีสภาพเป็นหุบเขาสูงชันและที่ราบสูง

เศรษฐกิจ

ประชากร

กลุ่มชาติพันธุ์

และชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกร้อยละ 11[1][2]

ศาสนา

จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ. 2550 พบว่าชาวเอธิโอเปียร้อยละ 62.8 นับถือศาสนาคริสต์ (ในจำนวนนี้เป็นผู้นับถือนิกายเอธิโอเปียนคอปติกออร์ทอดอกซ์ร้อยละ 43.5 และนิกายอื่น ๆ ร้อยละ 19.3), ร้อยละ 33.9 นับถือศาสนาอิสลาม, ร้อยละ 2.6 นับถือความเชื่อดั้งเดิม และร้อยละ 0.6 นับถือศาสนาอื่น ๆ[1]

วัฒนธรรม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Berhanu Abegaz, Ethiopia: A Model Nation of MinoritiesPDF (51.7 KB) . Retrieved 6 April 2006. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "bx" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  2. Embassy of Ethiopia, Washington, DC. Retrieved 6 April 2006.


ak:Ethiopia