2 พัลลัส
หน้าตา
การค้นพบ | ||||
---|---|---|---|---|
ค้นพบโดย: | ไฮน์ริช วิลเฮ็ล์ม มัททีอัส ออลเบอร์ส | |||
ค้นพบเมื่อ: | 28 มีนาคม ค.ศ. 1802 | |||
ชื่ออื่น ๆ: | ไม่มี | |||
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย: | แถบดาวเคราะห์น้อย | |||
ลักษณะของวงโคจร[1] | ||||
ต้นยุคอ้างอิง 22 สิงหาคม ค.ศ. 2008 (JD 2454700.5) | ||||
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 510.468 Gm (3.412 AU) | |||
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 319.005 Gm (2.132 AU) | |||
กึ่งแกนเอก: | 414,737 ล้านกิโลเมตร (2.766 หน่วยดาราศาสตร์) | |||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.231 | |||
คาบดาราคติ: | 1686.044 วัน (4.62 ปีจูเลียน) | |||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 17.65 กม./วินาที | |||
มุมกวาดเฉลี่ย: | 306.605° | |||
ความเอียง: | 34.838 | |||
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 173.134° | |||
มุมของจุด ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 310.274° | |||
ลักษณะทางกายภาพ | ||||
มิติ: | 582×556×500±9 km[1] | |||
มวล: | (2.11±0.26) ×1020 kg[2] | |||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | ~2.8 g/cm³ | |||
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | ~0.18 m/s² | |||
ความเร็วหลุดพ้น: | ~0.32 km/s | |||
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 0.325 55 d (7.8132 h) [3] | |||
ความเอียงของแกน: | ราว 78 ± 13°[4] | |||
อัตราส่วนสะท้อน: | .159[5] | |||
อุณหภูมิ: | ~164 K สูงสุด: ~265 K (-8 °C) | |||
อุณหภูมิพื้นผิว: |
| |||
ชนิดสเปกตรัม: | ดาวเคราะห์น้อยประเภท B[6] | |||
ขนาดเชิงมุม: | 0.59"[7] to 0.17" |
2 พัลลัส (กรีก: Παλλάς) เป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดในแถบหลัก เป็นดาวเคราะห์น้อยที่ได้รับการค้นพบเป็นดวงที่สอง โดยนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ ไฮน์ริช วิลเฮ็ล์ม มัททีอัส ออลเบอร์ส เมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1802 ในตอนแรก ๆ นักดาราศาสตร์คิดว่าพัลลัสเป็นดาวเคราะห์ เช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อยที่ค้นพบในช่วงแรก ๆ ดวงอื่น คือ 1 เซเรส 3 จูโน และ 4 เวสตา จนกระทั่งเมื่อมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงค่อยมีการจัดประเภทของดาวเหล่านี้เสียใหม่
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Schmidt, B. E.; และคณะ (2008). "Hubble takes a look at Pallas: Shape, size, and surface" (PDF). 39th Lunar and Planetary Science Conference (Lunar and Planetary Science XXXIX). Held March 10–14, 2008, in League City, Texas. 1391: 2502. สืบค้นเมื่อ 2008-08-24.
- ↑ Baer, James; Steven R. Chesley (2008). "Astrometric masses of 21 asteroids, and an integrated asteroid ephemeris" (PDF). Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy. Springer Science+Business Media B.V. 2007. 100 (2008): 27–42. doi:10.1007/s10569-007-9103-8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-02-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-11. เก็บถาวร 2011-02-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Harris, A. W.; Warner, B. D.; Pravec, P. (2006). "Asteroid Lightcurve Derived Data. EAR-A-5-DDR-Derived-Lightcurve-V8.0". NASA Planetary Data System. สืบค้นเมื่อ 2007-03-15.
- ↑ Torppa, J.; และคณะ (2003). "Shapes and rotational properties of thirty asteroids from photometric data". Icarus. 164 (2): 346–383. doi:10.1016/S0019-1035(03)00146-5. สืบค้นเมื่อ 2007-03-15.
- ↑ Tedesco, E. F.; Noah, P. V.; Noah, M.; Price, S. D. (ตุลาคม 2004). "IRAS Minor Planet Survey V6.0". NASA Planetary Data System. 12: IRAS–A–FPA–3–RDR–IMPS–V6.0. Bibcode:2004PDSS...12.....T. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มิถุนายน 2016. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2017.
- ↑ Neese, C. (2005). "Asteroid Taxonomy. EAR-A-5-DDR-Taxonomy-V5.0". NASA Planetary Data System. สืบค้นเมื่อ 2007-03-15.
- ↑ Calculated with JPL Horizons for 2014-Feb-24