สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย
หน้าตา
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1924–ค.ศ. 1992 | |||||||||
คำขวัญ: Орон бүрийн пролетари нар нэгдэгтүн! (มองโกเลีย) Oron bürijn proletari nar negdegtün! (การทับศัพท์) "ชนชั้นกรรมาชีพทั่วโลกจงสามัคคีกัน!" | |||||||||
เพลงชาติ: มองโกล แองเตอร์นาซิอองนาล (1924–1950) Монгол Интернационал Mongol Intyernasional БНМАУ–ын сүлд дуулал BNMAU–yn süld duulal | |||||||||
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียในปี ค.ศ. 1989 | |||||||||
สถานะ | รัฐบริวารของสหภาพโซเวียต | ||||||||
เมืองหลวง | อูลานบาตาร์ | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษามองโกเลีย | ||||||||
ศาสนา | ศาสนาพุทธ, อเทวนิยม, เชมัน, อิสลาม, คริสต์ | ||||||||
การปกครอง | รัฐเดี่ยว ลัทธิมากซ์-เลนิน รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม (1924–1990) รัฐเดี่ยว ระบบหลายพรรค ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ (1990–1992) | ||||||||
ประธานาธิบดี | |||||||||
• 1924 (คนแรก) | Navaandorjiin Jadambaa | ||||||||
• 1990–1992 (คนสุดท้าย) | Punsalmaagiin Ochirbat | ||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||
• 1923–1924 (คนแรก) | Balingiin Tserendorj | ||||||||
• 1990-1992 (คนสุดท้าย) | Dashiin Byambasüren | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สมัยระหว่างสงคราม, สงครามโลกครั้งที่ 2, สงครามเย็น | ||||||||
1 มีนาคม ค.ศ. 1921 | |||||||||
• สถาปนา | 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1924 | ||||||||
20 ตุลาคม ค.ศ. 1945 | |||||||||
• เอกราชจากสาธารณรัฐจีน | 5 มกราคม ค.ศ. 1946 | ||||||||
25 ตุลาคม ค.ศ. 1961 | |||||||||
29 มิถุนายน ค.ศ. 1990 | |||||||||
13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 | |||||||||
พื้นที่ | |||||||||
1992 | 1,564,116 ตารางกิโลเมตร (603,909 ตารางไมล์) | ||||||||
ประชากร | |||||||||
• 1992 | 2318000 | ||||||||
สกุลเงิน | ทูกรุก | ||||||||
|
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย (มองโกเลีย: Бүгд Найрамдах Монгол Ард Улс (БНМАУ), , Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls (BNMAU)) คือรัฐคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกระหว่าง ค.ศ. 1924 ถึง ค.ศ. 1992 หลังจากมองโกเลียได้รับเอกราชจากจีน จากการช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตแต่ต้องสถาปนาการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตามแบบประเทศเพื่อนบ้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลงจากมองโกเลียเมื่อปี ค.ศ. 1991 ปีเดียวกันกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งต่อมามองโกเลียได้นำระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามาใช้กับตน [1]
ประวัติศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเมืองการปกครอง
[แก้]บริหาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
นิติบัญญัติ
[แก้]ตุลาการ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองทัพ
[แก้]เศรษฐกิจ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Cotton, James (1989). D. K. Adams (บ.ก.). Asian Frontier Nationalism: Owen Lattimore and the American Policy Debates. Manchester University Press. pp. 130. ISBN 978-0-7190-2585-3.