สงกรานต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงกรานต์
สงกรานต์ในไทย, พม่า, กัมพูชา และ ลาว
ชื่อทางการตามประเทศ
ได้แก่
จัดขึ้นโดยชาวพม่า, กัมพูชา, ได, ลาว, ไทย, บังกลาเทศ, ศรีลังกา, ไทดำ และอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน
ความสำคัญวันขึ้นปีใหม่
วันที่โดยทั่วไป 13–14 เมษายน
ความถี่รายปี

สงกรานต์ เป็นคำมาจากภาษาสันสกฤต สํกฺรานฺติ (saṅkrānti) ใช้เรียกวันปีใหม่ที่เฉลิมฉลองในประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา, พม่า, ศรีลังกา และบางส่วนของอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ, เวียดนาม และ สิบสองปันนาในประเทศจีน[1][2] สงกรานต์เริ่มต้นเมื่อดวงอาทิตย์เข้าสู่ราศีเมษ สัญลักษณ์ดาราศาสตร์แรกในจักรราศีตามดาราศาสตร์ดาวฤกษ์[3]

สงกรานต์ในท้องถิ่นต่าง ๆ ได้แก่ ปีใหม่กัมพูชา, ปีใหม่ลาว, ปีใหม่สิงหลในศรีลังกา, สงกรานต์ในประเทศไทย, ตะจานในพม่า, สังเกนในรัฐอรุณาจัลประเทศและอัสสัมของอินเดีย, เทศกาลพรมน้ำในสิบสองปันนาและบางส่วนของเวียดนาม[4][5]

รายชื่อสงกรานต์[แก้]

ชื่อท้องถิ่น ที่ตั้ง เริ่ม สิ้นสุด
ปีใหม่/สงกรานต์ ลาว 14 เม.ย. 16 เม.ย.
สงกรานต์ ไทย 13 เม.ย. 15 เม.ย.
สังเกน รัฐอรุณาจัลประเทศและรัฐอัสสัม (อินเดีย) 14 เม.ย. 16 เม.ย.
ตะจาน พม่า 13 เม.ย. 16 เม.ย.
โจลชนัมทเมย กัมพูชา 14 เม.ย. 16 เม.ย.
พัวสุ่ยเจี๋ย สิบสองปันนา, มณฑลยูนนาน (จีน) 13 เม.ย. 15 เม.ย.
อะรุดตา วะรุดตะดา ศรีลังกา 14 เม.ย. 14 เม.ย.

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "制造传统 关于傣族泼水节及其相关新年话语的研究". Open Times. February 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-14. สืบค้นเมื่อ 17 January 2017.
  2. "Donald K. Swearer The Buddhist World of Southeast Asia" (PDF). Ahandfulofleaves.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  3. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-08. สืบค้นเมื่อ 2017-01-16.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  4. Planet, Lonely (21 March 2011). "The Dai water-splashing festival: where China meets Southeast Asia". Lonely Planet. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  5. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-09. สืบค้นเมื่อ 2016-06-05.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)