ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2015
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1989
จำนวนทีม16
ทวีประหว่างประเทศ (FIVB)
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน โปแลนด์ (1 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุด บราซิล (6 สมัย)

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี (อังกฤษ: FIVB Volleyball Boys' U19 World Championship) หรือที่เรียกว่า วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Boys' Youth World Championship) ระหว่างปี ค.ศ. 2007 – ค.ศ. 2011 เป็นแข่งขันวอลเลย์บอลสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 19 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) ในครั้งแรกจัดขึ้นที่เมืองดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ในปี ค.ศ. 1989 และการแข่งขันได้จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี

ทีมชาติบราซิล เป็นประเทศที่ประสบสำเร็จมากที่สุด โดยชนะเลิศ 6 สมัย และรองชนะเลิศ 1 สมัย ส่วนทีมชาติรัสเซีย ชนะเลิศทั้งหมด 3 สมัย และรองชนะเลิศ 2 สมัย

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1989
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ดูไบ

บราซิล
3–1
สหภาพโซเวียต

บัลแกเรีย
3–0
อิหร่าน
12
1991
รายละเอียด
ประเทศโปรตุเกส
โปร์ตู

บราซิล
3–1
สหภาพโซเวียต

เกาหลีใต้
3–1
เชโกสโลวาเกีย
12
1993
รายละเอียด
ประเทศตุรกี
อิสตันบูล

บราซิล
3–0
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

โปรตุเกส
12
1995
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
ซานฮวน

บราซิล
3–0
อิตาลี

ญี่ปุ่น
3–0
ปวยร์โตรีโก
12
1997
รายละเอียด
ประเทศอิหร่าน
เตหะราน

อิตาลี
3–0
กรีซ

ญี่ปุ่น
3–2
โปแลนด์
16
1999
รายละเอียด
ประเทศซาอุดีอาระเบีย
ริยาด

รัสเซีย
3–1
เวเนซุเอลา

โปแลนด์
3–2
ซาอุดีอาระเบีย
16
2001
รายละเอียด
ประเทศอียิปต์
ไคโร

บราซิล
3–0
อิหร่าน

รัสเซีย
3–0
อียิปต์
16
2003
รายละเอียด
ประเทศไทย
สุพรรณบุรี

บราซิล
3–0
อินเดีย

อิหร่าน
3–1
เช็กเกีย
16
2005
รายละเอียด
ประเทศแอลจีเรีย
แอลเจียร์ / ออราน

รัสเซีย
3–2
บราซิล

อิตาลี
3–1
อาร์เจนตินา
16
2007
รายละเอียด
ประเทศเม็กซิโก
เมคีกาลี / ตีฮัวนา

อิหร่าน
3–2
จีน

ฝรั่งเศส
3–1
อาร์เจนตินา
16
2009
รายละเอียด
ประเทศอิตาลี
บัสซาโนเดลกรัปปา / เยโซโล‎

เซอร์เบีย
3–2
อิหร่าน

อาร์เจนตินา
3–0
รัสเซีย
16
2011
รายละเอียด
ประเทศอาร์เจนตินา
บาเอียบลังกา / บูร์ซาโก

เซอร์เบีย
3–2
สเปน

คิวบา
3–0
ฝรั่งเศส
16
2013
รายละเอียด
ประเทศเม็กซิโก
ตีฮัวนา / เมคีกาลี

รัสเซีย
3–1
จีน

โปแลนด์
3–1
อิหร่าน
20
2015
รายละเอียด
ประเทศอาร์เจนตินา
กอร์เรียนเตส / เรซิสเตนเซีย

โปแลนด์
3–2
อาร์เจนตินา

อิหร่าน
3–1
รัสเซีย
20
2017
รายละเอียด
ประเทศบาห์เรน
ริฟา

อิหร่าน
3–1
รัสเซีย

ญี่ปุ่น
3–0
เกาหลีใต้
20
2019
รายละเอียด
ประเทศตูนิเซีย
Radès / ตูนิส

อิตาลี
3–1
รัสเซีย

อาร์เจนตินา
3–1
อียิปต์
20
2021
รายละเอียด
ประเทศอิหร่าน
เตหะราน

โปแลนด์
3–0
บัลแกเรีย

อิหร่าน
3-2
รัสเซีย
20

สรุปเหรียญ

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  บราซิล 6 1 0 7
2  รัสเซีย 3 2 1 6
3  เซอร์เบีย 2 0 0 2
4  อิหร่าน 1 2 1 4
5  อิตาลี 1 1 1 3
6  จีน 0 2 0 2
7  ญี่ปุ่น 0 1 2 3
8  กรีซ 0 1 0 1
 อินเดีย 0 1 0 1
 สเปน 0 1 0 1
 เวเนซุเอลา 0 1 0 1
12  เกาหลีใต้ 0 0 2 2
 โปแลนด์ 0 0 2 2
14  อาร์เจนตินา 0 0 1 1
 บัลแกเรีย 0 0 1 1
 คิวบา 0 0 1 1
 ฝรั่งเศส 0 0 1 1
รวม 13 13 13 39

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]
ประเทศ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
1989
(12)
ประเทศโปรตุเกส
1991
(12)
ประเทศตุรกี
1993
(12)
ปวยร์โตรีโก
1995
(12)
ประเทศอิหร่าน
1997
(16)
ประเทศซาอุดีอาระเบีย
1999
(16)
ประเทศอียิปต์
2001
(16)
ประเทศไทย
2003
(16)
ประเทศแอลจีเรีย
2005
(16)
ประเทศเม็กซิโก
2007
(16)
ประเทศอิตาลี
2009
(16)
ประเทศอาร์เจนตินา
2011
(16)
ประเทศเม็กซิโก
2013
(20)
ประเทศอาร์เจนตินา
2015
(20)
ประเทศบาห์เรน
2017

(20)
รวม
 แอลจีเรีย 12th 13th 13th 16th 19th 5
 อาร์เจนตินา 7th 5th 9th 4th 4th 3rd 5th 6th 2nd Q 10
 ออสเตรเลีย 8th 1
 บาห์เรน 11th Q 2
 เบลารุส 9th 1
 เบลเยียม 6th 9th 17th 3
 บัลแกเรีย 3rd 8th 9th 6th 12th 5
 บราซิล 1st 1st 1st 1st 5th 7th 1st 1st 2nd 7th 9th 9th 5th 6th Q 15
 แคนาดา 13th 1
 ชิลี 13th 16th 2
 จีน 9th 9th 2nd 8th 2nd 8th 6
 จีนไทเป 5th 13th 9th 18th 4
 โครเอเชีย 9th 1
 คอสตาริกา 9th 1
 คิวบา 10th 9th 9th 13th 3rd 7th 10th Q 8
 เช็กเกีย 9th 4th 6th 8th 9th 4th 6[A]
 สาธารณรัฐโดมินิกัน 8th 13th 2
 อียิปต์ 8th 4th 9th 9th 16th 13th 12th 12th 20th 9
 ฟินแลนด์ 7th 13th 11th 3
 ฝรั่งเศส 9th 7th 11th 7th 9th 7th 6th 3rd 12th 4th 8th 11th 11
 เยอรมนี 10th 13th 2
 กรีซ 5th 2nd 7th 3
 อินเดีย 2nd 9th 8th 7th 4
 อิหร่าน 4th 9th 2nd 3rd 5th 1st 2nd 10th 4th 3rd 10
 อิตาลี 2nd 1st 13th 9th 3rd 8th 5th 7
 ญี่ปุ่น 7th 6th 2nd 3rd 3rd 9th 14th 17th 15th 9
 เม็กซิโก 13th 13th 13th 12th 14th 14th 6
 โมร็อกโก 13th 1
 เนเธอร์แลนด์ 9th 1
 โปแลนด์ 9th 4th 3rd 5th 13th 7th 5th 11th 3rd 1st 10
 โปรตุเกส 9th 4th 2
 ปวยร์โตรีโก 5th 6th 4th 7th 11th 15th 15th 19th 8
 กาตาร์ 11th 1
 รัสเซีย 2nd 2nd 6th 1st 3rd 5th 1st 9th 4th 13th 1st 4th 12[B]
 ประเทศรวันดา 20th 1
 ซาอุดีอาระเบีย 4th 1
 เซอร์เบีย 1st 1st 2
 สโลวาเกีย 13th 13th 13th 13th 8th 5
 เกาหลีใต้ 5th 3rd 3rd 9th 6th 6th 9th 14th 10th 9
 สเปน 9th 5th 2nd 3
 ซูดาน 13th 1
 ไทย 6th 1
 ตูนิเซีย 11th 9th 9th 8th 13th 14th 6th 16th 18th Q 10
 ตุรกี 9th 15th 9th 3
 ยูเครน 5th 1
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 11th 1
 สหรัฐ 7th 15th 10th 11th 16th 7th Q 7
 เวเนซุเอลา 13th 2nd 9th 13th 4
สัญลักษณ์
  •  1st  – ชนะเลิศ
  •  2nd  – รองชนะเลิศ
  •  3rd  – อันดับที่ 3
  •  4th  – อันดับที่ 4
  •  •  – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน / ไม่ผ่านการคัดเลือก
  •    – เจ้าภาพ
  • Q – ทีมที่ผ่านการคัดเลือก

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Czech Republic's total includes two appearances as Czechoslovakia in 1989 and 1991.
  2. Russia's total includes two appearances as Soviet Union in 1989 and 1991.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]