รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล
นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลที่จัดเรียงประมุขที่ครองราชย์นานที่สุดในโลก ตามระยะเวลาของรัชกาล
พระมหากษัตริย์ในรัฐเอกราชที่ครองราชย์ตามวันที่พิสูจน์ได้แน่นอน
[แก้]ตารางข้างล่างรวมพระมหากษัตริย์ 25 พระองค์ที่ได้รับการยอมรับว่าครองราชย์นานที่สุดในรัชสมัยทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ คอนสแตนตินที่ 8 และเบซิลที่ 2 จักรพรรดิไบแซนไทน์ที่ครองราชย์ 66 ปี (ค.ศ. 962–1028) และ 65 ปี (ค.ศ. 960–1025) ตามลำดับ ไม่ได้นับรวมในนี้ เนื่องจากมีบางช่วงที่ครองราชย์เป็นจักรพรรดิผู้เยาว์ร่วมกับจักรพรรดิผู้อาวุโส
ผู้สำเร็จราชการไม่นับรวมกับพระมหากษัตริย์ นั่นจึงเป็นเหตุผลให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสได้รับการจัดให้เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์นานที่สุด แม้ว่าอานาแห่งออสเตรีย พระราชมารดา ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นเวลา 8 ปี และไม่มีการแยกแยะระหว่างพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ นั่นทำให้สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 จัดให้อยู่ในอันดับที่ 2 แม้ว่าพระองค์จะเป็นเพียงประมุขในนาม
ลำดับ | พระบรมฉายาลักษณ์ | พระนาม | ดินแดน | ครองราชย์ | ระยะเวลา | อ้าง. | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ตั้งแต่ | ถึง | (วัน) | (ปี, วัน) | |||||
1 | พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 | 14 พฤษภาคม 1643 | 1 กันยายน 1715 | 26,407 | 72 ปี 110 วัน | [1] | ||
2 | สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 | [a] | 6 กุมภาพันธ์ 1952 | 8 กันยายน 2022 | 25,782 | 70 ปี 214 วัน[b] | [2][3][4] | |
3 | พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร | ไทย | 9 มิถุนายน 1946 | 13 ตุลาคม 2016 | 25,694 | 70 ปี 126 วัน | [5] | |
4 | เจ้าชายโยฮันที่ 2 | ลีชเทินชไตน์ | 12 พฤศจิกายน 1858 | 11 กุมภาพันธ์ 1929 | 25,658 | 70 ปี 91 วัน | [6] | |
5 | Kʼinich Janaabʼ Pakal ที่ 1 | ปาเลงเก (เม็กซิโก) | 27 กรกฎาคม 615[c] | 29 สิงหาคม 683 | 24,870 | 68 ปี 33 วัน | [7][9] | |
6 | จักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1 |
|
2 ธันวาคม 1848 | 21 พฤศจิกายน 1916 | 24,825 | 67 ปี 355 วัน | [10] | |
7 | Chan Imix Kʼawiil | โกปัน (ฮอนดูรัส) | 5 กุมภาพันธ์ 628[d] | 15 มิถุนายน 695 | 24,602 | 67 ปี 130 วัน | [13][14] | |
8 | เฟอร์ดินันที่ 3 |
|
6 ตุลาคม 1759 | 4 มกราคม 1825 | 23,831 | 65 ปี 90 วัน | [15] | |
9 | สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย | สหราชอาณาจักร | 20 มิถุนายน 1837 | 22 มกราคม 1901 | 23,226 | 63 ปี 216 วัน | [16] | |
10 | พระเจ้าไชเมที่ 1 | ราชบัลลังก์อารากอน | 12 กันยายน 1213 | 27 กรกฎาคม 1276 | 22,964 | 62 ปี 319 วัน | [17] | |
11 | จักรพรรดิโชวะ[e] |
|
25 ธันวาคม 1926 | 7 มกราคม 1989 | 22,659 | 62 ปี 13 วัน | [18] | |
12 | จักรพรรดิคังซี[f] | ราชวงศ์ชิง (ประเทศจีน) | 5 กุมภาพันธ์ 1661 | 20 ธันวาคม 1722 | 22,597 | 61 ปี 318 วัน | [19] | |
13 | ออนอเรที่ 3 | โมนาโก | 29 ธันวาคม 1731 | 13 มกราคม 1793 | 22,296 | 61 ปี 15 วัน | [20][21] | |
14 | Itzamnaaj Bahlam ที่ 3 | Yaxchilan (เม็กซิโก) | 20 ตุลาคม 681[g] | 15 มิถุนายน 742 | 22,153 | 60 ปี 238 วัน | [11] | |
15 | Kʼakʼ Tiliw Chan Yopaat | กิริกัว (กัวเตมาลา) | 29 ธันวาคม 724[h] | 27 กรกฎาคม 785 | 22,125 | 60 ปี 210 วัน | [22][23] | |
16 | จักรพรรดิเฉียนหลง[i] | ราชวงศ์ชิง (ประเทศจีน) | 18 ตุลาคม 1735 | 9 กุมภาพันธ์ 1796[j] | 22,029 | 60 ปี 114 วัน | [24] | |
17 | พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 | เดนมาร์ก–นอร์เวย์ | 4 เมษายน 1588 | 28 กุมภาพันธ์ 1648 | 21,879 | 59 ปี 330 วัน | [25] | |
18 | สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 |
|
25 ตุลาคม 1760 | 29 มกราคม 1820 | 21,644 | 59 ปี 96 วัน | [26] | |
19 | พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 | 1 กันยายน 1715 | 10 พฤษภาคม 1774 | 21,436 | 58 ปี 251 วัน | [27] | ||
20 | จักรพรรดิเปดรูที่ 2 | บราซิล | 7 เมษายน 1831 | 15 พฤศจิกายน 1889 | 21,407 | 58 ปี 222 วัน | [28] | |
21 | อัลมุสตันศิร บิลลาฮ์ | รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาฏิมียะฮ์ (อียิปต์) | 13 มิถุนายน 1036[l] | 29 ธันวาคม 1094 | 21,383 | 58 ปี 199 วัน | [29][30] | |
22 | พระเจ้านิกอลาที่ 1 |
|
13 สิงหาคม 1860 | 26 พฤศจิกายน 1918 | 21,288 | 58 ปี 105 วัน | [33] | |
23 | สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินา | เนเธอร์แลนด์ | 23 พฤศจิกายน 1890 | 4 กันยายน 1948 | 21,104 | 57 ปี 286 วัน | [34] | |
24 | พระเจ้าเจมส์ที่ 6 | สกอตแลนด์ | 24 กรกฎาคม 1567 | 27 มีนาคม 1625 | 21,066 | 57 ปี 246 วัน | [35] | |
25 | คอนราดที่ 1 | บูร์กอญ | 12 กรกฎาคม 937[m] | 19 ตุลาคม 993 | 20,553 | 56 ปี 99 วัน | [36] |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล
- รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกที่ครองราชย์สั้นที่สุด
- รายพระนามพระมหากษัตริย์ในประเทศไทยตามรัชกาล
- รายชื่อผู้นำรัฐที่แก่ที่สุด
- รายชื่อผู้นำรัฐ
- รายชื่อผู้นำรัฐเรียงตามอายุ
- สถิติประมุขแห่งรัฐ
- รายชื่อศตวรรษิกชน (นักการเมืองและข้าราชการพลเรือน)
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ เอลิซาเบธทรงเป็นพระราชินีในรัฐต่าง ๆ เพียงไม่นาน ยกเว้น 4 ประเทศนี้ ระยะเวลาข้างล่างระบุไว้สำหรับเอลิซาเบธในฐานะพระมหากษัตริย์ของประเทศหรือดินแดนที่เป็นเอกราช ไม่มีรัฐใดจัดให้พระองค์อยู่ในรายพระนามนี้ ยกเว้นประเทศจาเมกาที่จัดพระองค์อยู่ในอันดับที่ 17 รัฐข้างล่างเป็นดินแดนของบริติชในช่วงต้นรัชสมัยเอลิซาเบธที่ 2 ใน ค.ศ. 1952 แต่เป็นเอกราชในฐานะสาธารณรัฐในรัชสมัยของพระองค์:
- ปากีสถาน (รวมบังกลาเทศ) (สาธารณรัฐ 23 มีนาคม ค.ศ. 1956; 4 ปี 46 วัน)
- แอฟริกาใต้ (สาธารณรัฐ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1961; 9 ปี 114 วัน)
- ซีลอน (สาธารณรัฐ พร้อมชื่อศรีลังกา 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1972; 20 ปี 106 วัน)
รัฐข้างล่างยังไม่ได้มีอธิปไตยเป็นของตนเองในช่วงเริ่มต้นของรัชสมัยเอลิซาเบธที่ 2 ใน ค.ศ. 1952 แต่เป็นเอกราชและภายหลังเปลี่ยนระบอบเป็นสาธารณรัฐในรัชสมัยของพระองค์:
- กานา (เอกราช 6 มีนาคม ค.ศ. 1957, สาธารณรัฐ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1961; 4 ปี 87 วัน)
- ไนจีเรีย (เอกราช 1 ตุลาคม ค.ศ. 1960, สาธารณรัฐ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1963; 3 ปี 0 วัน)
- เซียร์ราลีโอน (เอกราช 27 เมษายน ค.ศ. 1961, สาธารณรัฐ 19 เมษายน ค.ศ. 1971; 9 ปี 357 วัน)
- แทนกันยีกา (เอกราช 9 ธันวาคม ค.ศ. 1961, สาธารณรัฐ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1962; 1 ปี 0 วัน)
- ตรินิแดดและโตเบโก (เอกราช 31 สิงหาคม ค.ศ. 1962, สาธารณรัฐ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1976; 13 ปี 336 วัน)
- ยูกันดา (เอกราช 9 ตุลาคม ค.ศ. 1962, สาธารณรัฐ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1963; 1 ปี 0 วัน)
- เคนยา (เอกราช 12 ธันวาคม ค.ศ. 1963, สาธารณรัฐ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1964; 1 ปี 0 วัน)
- มาลาวี (เอกราช 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1964, สาธารณรัฐ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1966; 2 ปี 0 วัน)
- มอลตา (เอกราช 21 กันยายน ค.ศ. 1964, สาธารณรัฐ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1974; 10 ปี 83 วัน)
- แกมเบีย (เอกราช 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965, สาธารณรัฐ 24 เมษายน ค.ศ. 1970; 5 ปี 65 วัน)
- กายอานา (เอกราช 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1966, สาธารณรัฐ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1970; 3 ปี 273 วัน)
- บาร์เบโดส (เอกราช 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1966, สาธารณรัฐ 30 พฤษจิกายน ค.ศ. 2021; 55 ปี 0 วัน)
- มอริเชียส (เอกราช 12 มีนาคม ค.ศ. 1968, สาธารณรัฐ 12 มีนาคม ค.ศ. 1992; 24 ปี 0 วัน)
- ฟีจี (เอกราช 10 ตุลาคม ค.ศ. 1970, สาธารณรัฐ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1987; 16 ปี 361 วัน)
รัฐข้างล่างยังไม่ได้มีอธิปไตยเป็นของตนเองในช่วงเริ่มต้นของรัชสมัยเอลิซาเบธที่ 2 ใน ค.ศ. 1952 แต่เป็นเอกราชในรัชสมัยพระองค์ และคงพระองค์ไว้เป็นราชินี:
- จาเมกา (เอกราช 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962; 60 ปี 33 วัน)
- บาฮามาส (เอกราช 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1973; 49 ปี 60 วัน)
- กรีเนดา (เอกราช 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974; 48 ปี 213 วัน)
- ปาปัวนิวกินี (เอกราช 16 กันยายน ค.ศ. 1975; 46 ปี 357 วัน)
- หมู่เกาะโซโลมอน (เอกราช 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1978; 44 ปี 63 วัน)
- ตูวาลู (เอกราช 1 ตุลาคม ค.ศ. 1978; 43 ปี 342 วัน)
- เซนต์ลูเชีย (เอกราช 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979; 43 ปี 198 วัน)
- เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (เอกราช 27 ตุลาคม ค.ศ. 1979; 42 ปี 316 วัน)
- เบลีซ (เอกราช 21 กันยายน ค.ศ. 1981; 40 ปี 352 วัน)
- แอนทีกาและบาร์บิวดา (เอกราช 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1981; 40 ปี 311 วัน)
- เซนต์คิตส์และเนวิส (เอกราช 19 กันยายน ค.ศ. 1983; 38 ปี 354 วัน)
- ↑ ช่วงเวลาครองราชย์นับเฉพาะรัฐเอกราชที่ยังคงมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในรัชสมัยของพระองค์ ได้แก่: ออสเตรเลีย, แคนาดา, นิวซีแลนด์ และสหราชอาณาจักร
- ↑ ในปฏิทินมายา ครองราชย์ใน 9.9.2.4.8, 5 Lamat 1 Mol; สวรรคตใน 9.12.11.5.18, 6 Etz'nab 11 Yax. มีการแปลงวันที่แบบนับยาวด้วยวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับ GMT+2 กับปฏิทินจูเลียน[7][8]
- ↑ ในปฏิทินมายา ครองราชย์ใน 9.9.14.17.5, 6 Chikchan 18 K'ayab; สวรรคตใน 9.13.3.5.7 12 Manik' 0 Yaxk'in. วันที่ตะวันตกนำมาจากการสร้างความสัมพันธ์กับ GMT+2 ในปฏิทินจูเลียน[11][12]
- ↑ ดำรงเป็นอุปราชในรัชสมัยจักรพรรดิไทโช ตั้งแต่วันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 จนกระทั่งเสวยราชสมบัติ
- ↑ ผู้ปกครองจีนนานที่สุดโดยนิตินัย
- ↑ ในปฏิทินมายา ครองราชย์ใน 9.12.9.8.1 5 Imix 4 Mak; สวรรคตใน 9.15.10.17.14 6 Ix 12 Yaxk'in. วันที่ตะวันตกนำมาจากการสร้างความสัมพันธ์กับ GMT+2 ในปฏิทินจูเลียน[11]
- ↑ ในปฏิทินมายา ครองราชย์ใน 9.14.13.4.17 12 Kab'an 5 K'ayab'; สวรรคตใน 9.17.14.13.2 11 Ik 5 Yax. วันที่ตะวันตกนำมาจากการสร้างความสัมพันธ์กับ GMT+2 ในปฏิทินจูเลียน[11]
- ↑ ผู้ปกครองจีนนานที่สุดโดยพฤตินัย
- ↑ สละราชสมบัติ แต่ยังคงมีอำนาจโดยพฤตินัยในฐานะไท่ช่างหฺวังจนถึง 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1799
- ↑ บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าร่วมเป็นสหราชอาณาจักร โดยมีผลบังคับตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800 ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801
- ↑ ในปฏิทินอิสลาม ครองราชย์ในวันที่ 15 ชะอ์บาน ฮ.ศ. 427; สวรรคตวันที่ 18 ษุลฮิจญะฮ์ ฮ.ศ. 487[29] บางข้อมูลระบุวันสวรรคตของพระองค์ที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1095[29] แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ให้ที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1094[30][31][32]
- ↑ วันสวรรคตของรูดอล์ฟที่ 2 ผู้ครองราชย์ก่อนหน้า อยู่ที่ 11, 12 หรือ 13 กรกฎาคม[36][37]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "BBC – History – Historic Figures: Louis XIV (1638–1715)". www.bbc.co.uk (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Queen Elizabeth II has died, Buckingham Palace announces". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2022-09-08. สืบค้นเมื่อ 2022-09-08.
- ↑ "Her Majesty the Queen". The Royal Family. 29 December 2015. สืบค้นเมื่อ 2022-02-06.
- ↑ Waites, Rosie (2012-02-06). "The moment a princess became a queen". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2022-01-10.
- ↑ Crossette, Barbara (2016-10-13). "Bhumibol Adulyadej, 88, People's King of Thailand, Dies After 7-Decade Reign". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Biographies of the Princes and Princesses". House of Liechtenstein.
- ↑ 7.0 7.1 Pharo, Lars Kirkhusmo (2013). The Ritual Practice of Time: Philosophy and Sociopolitics of Mesoamerican Calendars. Brill. p. 92. ISBN 9789004252363.
- ↑ Parmington, Alexander (2011). Space and Sculpture in the Classic Maya City. Brill. pp. 51, 95. ISBN 9789004252363.
- ↑ "K'inich Janaab' Pakal I (Great-Sun-Shield), King of Palenque, depicted on an incense burner". museums.gov.il. สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Franz Joseph | emperor of Austria-Hungary". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 11.3 Martin, Simon; Nikolai Grube (2000). Chronicle of the Maya Kings and Queens: Deciphering the Dynasties of the Ancient Maya. London and New York: Thames & Hudson. p. 201 & 122. ISBN 0-500-05103-8. OCLC 47358325.
- ↑ Harrys, John; Stearns, Stephen K. (1997). Understanding Maya Inscriptions. University of Pennsylvania Press. pp. 134, 136, 218. ISBN 9780924171413.
{{cite book}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Looper, Matthew G. (2003). Lightning Warrior: Maya Art and Kingship at Quirigua. University of Texas Press. p. 211. ISBN 9780292705562.
- ↑ Newsome, Elizabeth A. (2001). Trees of Paradise and Pillars of the World. University of Texas Press. p. 65. ISBN 9780292755727.
- ↑ "Term details". British Museum (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ Kirsty.Oram (2015-12-31). "Victoria (r. 1837–1901)". The Royal Family (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "James I | king of Aragon". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "BBC – History – Historic Figures: Emperor Hirohito (1901–1989)". www.bbc.co.uk (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Kangxi | emperor of Qing dynasty". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ Charavay, Étienne (1892). Correspondance générale de Carnot: publiee avec des notes historiques et biographiques. Imprimerie nationale. p. 372.
- ↑ Dippel, Horst, บ.ก. (2010). Constitutional Documents of France, Corsica and Monaco. De Gruyter. p. 254. ISBN 9783598356964.
- ↑ Looper, Matthew G. (2003). Lightning Warrior: Maya Art and Kingship at Quirigua. Austin, TX: University of Texas Press. pp. 57, 186. ISBN 0-292-70556-5.
- ↑ Fitzsimmons , James L. (2010). Death and the Classic Maya Kings. University of Texas Press. p. 63. ISBN 9780292781986.
- ↑ "Qianlong | emperor of Qing dynasty". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Christian IV | Scandinavian king". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ Kirsty.Oram (2015-12-31). "George III (r. 1760–1820)". The Royal Family (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Louis XIV | king of France". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-20.
- ↑ "Pedro II | emperor of Brazil". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ 29.0 29.1 29.2 "MUSTANSIR BILLAH I (427-487/1036-1095), 18TH IMAM". ismaili.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 1 July 2022.
- ↑ 30.0 30.1 "MÜSTA'LÎ-BİLLÂH el-FÂTIMÎ - TDV İslâm Ansiklopedisi". TDV İslam Ansiklopedisi (ภาษาตุรกี).
- ↑ Cohen, Mark R. (2014). Jewish Self-Government in Medieval Egypt. Princeton University Press. p. 218. ISBN 9781400853588.
- ↑ Ayman Fu'ad Sayyid (2002). The Fatimids and Their Successors in Yaman. I.B. Tauris. p. 5. ISBN 9781860646904.
- ↑ "Nicholas I | Facts & Biography". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "Wilhelmina | queen of the Netherlands". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "James I | Biography, Religion, & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 17 May 2020.
- ↑ 36.0 36.1 "Rudolfinger". Neue Deutsche Biographie (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 13 June 2022.
- ↑ "Rudolf II | king of Burgundy". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 June 2022.